กากี: จากชาดกสู่กลอนบทละคร

Main Article Content

เสาวณิต จุลวงศ์

บทคัดย่อ

กากีเป็นเรื่องที่คนไทยรู้จักดีจากกากีคำกลอนของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) วรรณคดีเรื่องนี้ กวีได้นำนิทานชาดกมาแต่งใหม่โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบจากนิทานชาดกมาเป็นนิทานคำกลอน มีการสร้างตัวละครให้มีรายละเอียดและซับซ้อนมากขึ้น มีการเพิ่มรายละเอียดของเหตุการณ์และผูกเรื่องให้เป็นเหตุเป็นผล รวมทั้งการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากนิทานคำกลอนให้เป็นกลอนบทละคร เช่น การปรับเปลี่ยนวิธีการเริ่มเรื่อง การแทรกบทร่ายรำ บทตลกขบขัน เป็นต้น

Article Details

How to Cite
จุลวงศ์ เ. (2016). กากี: จากชาดกสู่กลอนบทละคร. วรรณวิทัศน์, 2, 47–63. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2002.5
บท
บทความประจำฉบับ

References

จิรวรรณ คงจิตต์. "การศึกษาเชิงเปรียบเทียบเรื่องกากีฉบับต่างๆ." วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๘. (อัดสำเนา).

ปุ้ย แสงฉาย. พระไตรปิฎก มหาวัตถารนัย ๕๐๐๐ กัณฑ์. เล่ม ๖๖. พระนคร: ส. ธรรมภักดี, ๒๕๐๔.

พระคลัง (หน), เจ้าพระยา. วรรณคดีเจ้าพระยาพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภาล, ๒๕๓๓.

สมถวิล วิเศษสมบัติ. วรรณคดีการละคร. กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑิต, ๒๕๒๕.

สายวรุณ น้อยนิมิตร. "กากี: เดิมพันในเกมการต่อสู้ของผู้ชาย," สารคดี ๑๓: ๑๕๔ (ธันวาคม ๒๕๔๐), ๑๖๖-๑๖๘.

สุรพล วิรุฬรักษ์. นาฏยศิลป์ปริทรรศน์. กรุงเทพฯ: ห้องภาพสุวรรณ, ๒๕๔๓.

สุวรรณี อุดมผล. "อารมณ์ขันในบทละครของไทย (สมัยกรุงศรีอยุธยา-รัชกาลที่ ๒ กรุงรัตนโกสินทร์)." โครงการวิจัยเสริมหลักสูตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๒. (อัดสำเนา).

"กลอนบทละคร เรื่อง กากี" หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทย. เลขที่ ๔๒-๔๓. ตู้ ๑๑๔, ชั้น ๑/๒, มัดที่ ๕/๑.