ทรรศนะวิจารณ์ของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

Main Article Content

เสาวณิต จุลวงศ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาบทวิจารณืของหม่อมหลวงบุญเหลือ เพทยสุวรรณ ในเว่นวรรณกรรม เพื่อค้นหามุมมองของท่านต่อการวิจารณ์และงานวรรณกรรม จากผลงานในแว่นวรรณกรรม หม่อนหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ เห็นว่าการวิจารณ์มีความเกี่ยวข้องกับการประเมินค่า และวรรณกรรมเป็นงานศิลปะ ท่านจึงมีจุดยืนว่าการวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณกรรมต้องให้ความสำคัญแก่กลวิธีการประพันธ์และความสะเทือนอารมณ์เป็นหลัก ในขณะที่คุณค่าเชิงประวัติศาสตร์ สังคม และปรัชญาช่วยเสริมคุณค่าของวรรณกรรม

Article Details

How to Cite
จุลวงศ์ เ. (2016). ทรรศนะวิจารณ์ของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ. วรรณวิทัศน์, 11, 1–20. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2011.1
บท
บทความประจำฉบับ

References

เจนา นาควัชระ. (๒๕๒๙). ว่าด้วยวรรณคดีวิจารณ์ของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ. ใน แว่นวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: อ่านไทย. น. ๙-๔๐.

โชษิตา มณีใส. (มี.ค.-เม.ย. ๒๕๕๓). วิทยานิพนธ์ด้านวรรณคดีแบบฉบับของไทย (ระหว่าง พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๓๐). วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ๑๖: ๒, ๒๐๘-๒๓๔.

ดวงมน จิตร์จำนงค์. (๒๕๔๑). วรรณคดีวิจารณ์ไทย พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๒๕. ใน ทอไหมในสายน้ำ. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น. น. ๒๑๗-๒๙๖.

บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, หม่อมหลวง. (๒๕๒๙). แว่นวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: อ่านไทย.