วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2545-2553
Main Article Content
บทคัดย่อ
-
Article Details
References
ไกรสิทธิ์ จามรจันทร์สาขา. (๒๕๕๓). ลักษณะเด่นของอาชญนิยายของวสิษฐ เดชกุญชร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
จารุลักษณ์ นุตะวานิช. (๒๕๔๘). การศึกษาวิเคราะห์การใช้ภาษาในข่าวอาชญากรรมจากหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๖: คำและสำนวน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ฉัฐรภรณ์ ยศสุนทร. (๒๕๕๔). การดัดแปลงในวรรณกรรมการ์ตูนเรื่องพระลอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
รัชฎา เรืองประยูร. (๒๕๕๓). การแปรเสียงสระในภาษาไทยถิ่นขอนแก่นตามปัจจัยทางสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ชูวงศ์ กลิ่นเลขา. (๒๕๔๘). การศึกษาวิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรมเพลงรำวง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ฐิติภา คูประเสริฐ. (๒๕๕๑). การศึกษาภาษาที่ใช้ในไดอารี่ออนไลน์: เดือนตุลาคม ๒๕๔๙-เดือนมีนาคม ๒๕๕๐. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ฐิติรัตน์ อินธนู. (๒๕๔๘). การวิเคราะห์ตัวละครสำคัญในนิทานคำกลอนสุนทรภู่: การศึกษาด้านมุมมอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ณัฐ ศรสำราญ. (๒๕๕๑). การศึกษาวิเคราะห์ผลงานประเภทสารคดีของธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ธงชัย ดิษโส. (๒๕๔๗). การวิเคราะห์วรรณกรรมร้อยกรองเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
นันทพร ศรจิตติ. (๒๕๕๐). การศึกษาเปรียบเทียบการใช้คำของคนสามระดับอายุในภาษาไทยถิ่นในจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
นันทิดา จงมีสุข. (๒๕๔๗). การศึกษาบททำขวัญนาคภาคกลางในด้านจารีตนิยมและวรรณศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
นิชาพร ยอดมณี. (๒๕๕๑). การศึกษาวิเคราะห์เรื่องสั้นของสุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ: การนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ปภัสรา คำวชิรพิทักษ์. (๒๕๔๙). ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นในจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ประสรรค์ ตันติเสนาะ. (๒๕๔๘). การวิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอเนื้อหาในตำราภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร). วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ปาณิสรา เบี้ยมุกดา. (๒๕๕๐). การเชื่อมโยงความในพระราชนิพนธ์เสด็จประพาสต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
มยุรี พูนผลวัฒนาภรณ์. (๒๕๕๓). การศึกษาระบบเสียงภาษาไทยถิ่นเหนือที่ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วชิรา ชุณหศรี. (๒๕๔๖). การศึกษาสำนวนที่ใช้ในวงการบันเทิงจากหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๔. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วรุณญา อัจฉริยบดี. (๒๕๕๔). สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติและนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย: เรื่องเล่าและภาพแทน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วรรณพร ปิ่นแก้ว. (๒๕๔๗). การศึกษาวิเคราะห์การสื่อความในเรื่องสั้นของวินทร์ เลียววาริฯ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วลัยพร วิหคมาตย์. (๒๕๔๙). การวิเคราะห์ลักษณะภาษาของข้อความสั้นสำเร็จรูป (SMS) ภาษาไทยที่ใช้ในโทรศัพท์เคลื่อนที่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วาริด เจริญราษฎร์. (๒๕๕๔). การศึกษาการตั้งชื่อของชาวไทยมุสลิมชุมชนมัสยิดต้นสน เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วิภาพ คัญทัพ. (๒๕๔๗). การวิเคราะห์ฉากตื่นเต้นสำคัญในนวนิยายสยองขวัญของจินตวีร์ วิวัธน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
วิลาสินี ตันติวัฒนกูล. (๒๕๕๐). การศึกษาการใช้ภาษาในกระดานข่าวทางอินเทอร์เน็ตระหว่างเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ถึง เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
ศิตานันท์ มีดี. (๒๕๔๘). การใช้ภาษาและกลวิธีการเขียนคอลัมน์ซุบซิบการเมืองในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทยปีพุทธศักราช ๒๕๔๒-๒๕๔๖. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
สุนทรี โชติดิลก. (๒๕๕๔). การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
สุนีย์ ลีลาพรพินิจ. (๒๕๔๖). ลักษณะการเชื่อมโยงความในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน). วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
สุพรรษา ประสงค์สุข. (๒๕๕๑). การศึกษาวิเคราะห์งานเขียนสารคดีเกี่ยวกับปัญหาครอบครัวไทยของอรสม สุทธิสาคร: แนวคิดและกลวิธีการนำเสนอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
เสกสันต์ ผลวัฒนะ. (๒๕๔๙). การศึกษาอิทธิพลทางการเมืองการปกครองและสังคมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชที่มีต่อการแต่งไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
อภิรัตน์ โมทนียชาติ. (๒๕๔๗). การใช้ภาษาเพื่อสื่อจันตภาพในนวนิยายของปิยะพร ศักดิ์เกษม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
อรรคภาค เล้าจินตนาศรี. (๒๕๔๘). ตัวละครหญิงในนวนิยายของศรีบูรพา: การศึกษาสถานภาพ บทบาท และสำนึกทางสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
อรอุษา ถีวันดี. (๒๕๕๑). การศึกษาลักษณะและการใช้คำสแลงในนิตยสารบันเทิงภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๔๙. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
อัจฉรา ป้อมสกุล. (๒๕๔๗). การศึกษาแนวคิดและกลวิธีการเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนาเยาวชนจากผลงานร้อยกรองที่ได้รับรางวัลประเภทหนังสือคำประพันธ์สำหรับเด็กก่อนวัยรุ่น อายุ ๑๒-๑๔ ปี ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๓๐-๒๕๔๔. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.