การประยุกต์ใช้โคกหนองนาโมเดลสำหรับการจัดการเกษตรในเมืองเพื่อความยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • รุจิกาญจน์ สานนท์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • นิติพัฒน์ กิตติรักษกุล สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

คำสำคัญ:

การประยุกต์ใช้, โคกหนองนาโมเดล, เกษตรในเมือง, การจัดการ, ความยั่งยืน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโคก หนอง นา โมเดลที่สามารถนำมาปรับใช้กับสังคมเมืองในปัจจุบัน และ 2) เพื่อนำเสนอรูปแบบการประยุกต์ใช้โคกหนองนาโมเดลสำหรับการจัดการเกษตรในเมืองเพื่อความยั่งยืน ด้วยการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้โคกหนองนาโมเดลสำหรับการจัดการเกษตรในเมืองเพื่อความยั่งยืน พบว่า รูปแบบการประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล สำหรับการจัดการเกษตรในเมืองเพื่อความยั่งยืนนั้นสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ในพื้นที่ในเมืองต่าง ๆ ได้ตามความต้องการและปัจจัยแวดล้อมที่ต้องคำนึงถึงก่อนการพิจารณาการจัดการการเกษตรในเมืองคือ ปัจจัยด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม และ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลให้เกิด การเสริมสร้างพลังทางเศรษฐกิจแก่ครอบครัวและชุมชนสู่เศรษฐกิจที่มั่นคง และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวสู่ชุมชนและสังคม

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2563). รายงานสถานะความก้าวหน้า “โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”. สืบค้นจาก http://thaime.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2020/09/01-โคก-หนอง-นา.pdf

กรมที่ดิน. (2564). องค์ประกอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, สืบค้นจาก https://www.dol.go.th/ethics/Pages/องค์ประกอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.aspx

กรมส่งเสริมสหกรณ์. (2563). องค์ความรู้ เรื่อง โคก หนอง นา โมเดล, ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 14, สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์. สืบค้นจาก http://km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_5410049206.pdf

วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์. (2564). เกษตรกรรมในเมือง: รูปแบบและประสบการณ์จากโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น. สืบค้นจาก http://www.eto.ku.ac.th/neweto/เกษตรกรรมในเมือง_วุฒิพงษ์-ทวีวงศ์.pdf

วชิร คูณทวีเทพ. (2558). การยกระดับผลิตภาพและรายได้ของชาวนาโดยอาศัยโครงการ นา 1 ไร่ ได้เงิน 1 แสน กรณีศึกษา ณ ตำบลบางตะไนย์ จังหวัดนนทบุรี. BU Academic Review, 14(1), 107-121.

วสันตนาวิน หรินทร์ปพนวิช, อัลอามีน มะแต และ ฮาซียะห์ ดอรอแซ. (2563). การศึกษาการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 (น.137-148). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ยิ่งศักดิ์ ไกรพินิจ, ธีระวัฒน์ จันทึก และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2560). การจัดการการเกษตรสมัยใหม่ของประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(2), 115-127.

ทรงภพ เมฆพรรณโอภาส, อำภา บัวระกา และธีรดา นามไห. (2563). การออกแบบพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อความยั่งยืน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง, 2(2), 41-51.

มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2564). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เกษตรเมืองกับการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. สืบค้นจาก http://www.tei.or.th/thaicityclimate/public/work-33.pdf

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน. (2563). เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming). สืบค้นจาก http://sathai.org/2020/02/25/เกษตรแบบผสมผสาน-integrated-farming/

ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, วัชรี พฤกษิกานนท์, พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์, สุขุม พันธุ์ณรงค์ และพิมลพรร บุญยะเสนา. (2554). การประเมินผลเปรียบเทียบในมิติต่าง ๆ ของประชาชนในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้, วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 15(1), 13-43.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). การพัฒนาเชิงพื้นที่สู่ความยั่งยืน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรณีความสำเร็จของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, สำนักยุทธศาสตร์ด้านนโยบายสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สืบค้นจาก http://social.nesdc.go.th/social/sep/Book/2561/P01-120%20booklet%20v1%20Edit_Mail.pdf

สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์. (2563). การประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล, เรียบเรียงโดย ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 11 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์. สืบค้นจาก http://km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_5988230109.pdf

Diehl, J. A., Sweeney, E., Wong, B., Sia, C. S., Yao, H., & Prabhudesai, M. (2020). Feeding cities: Singapore's approach to land use planning for urban agriculture. Global Food Security, 26, 100377.

Deming, W. E. (1986). Out of the crisis Cambridge. Massachusetts: Massachusetts Institute of Technology.

Ge, D., Long, H., Qiao, W., Wang, Z., Sun, D., & Yang, R. (2020). Effects of rural–urban migration on agricultural transformation: A case of Yucheng City, China. Journal of Rural Studies, 76, 85-95.

KEYVANFAR, A., SHAFAGHAT, A., INN, T., & MOHAMAD, S. (2020). A SUSTAINABLE URBAN FARMING INDEX ASSESSMENT MODEL FOR EVALUATING FOOD PRODUCTIVITY THAT APPLIES MULTI-CRITERIA DECISION-MAKING METHODS—A CASE STUDY IN MALAYSIA. Journal of Sustainability Science and Management, 15(7), 123-146.

Lovell, S. T. (2010). Multifunctional urban agriculture for sustainable land use planning in the United States. Sustainability, 2(8), 2499-2522.

Pretty, J., Attwood, S., Bawden, R., Berg, H. van den, Bharucha, Z.P., Dixon, J., Flora, C.B., Gallagher, K., Genskow, K., Hartley, S.E., Ketelaar, J.W., Kiara, J.K., Kumar, V., Lu, Yuelai, MacMillan, T., Maréchal, A., Morales-Abubakar, A.L., Noble, A., Prasad, P.V.V., Rametsteiner, E., Reganold, J., Ricks, J.I., Rockström, J., Saito, O., Thorne, P.J., Wang, Songliang, Wittman, H., Winter, M. and Yang, Puyun. 2020. Assessment of the growth in social groups for sustainable agriculture and land management. Global Sustainability, 3(e23),1–16.

Surya, B., Syafri, S., Hadijah, H., Baharuddin, B., Fitriyah, A. T., & Sakti, H. H. (2020). Management of Slum-Based Urban Farming and Economic Empowerment of the Community of Makassar City, South Sulawesi, Indonesia. Sustainability, 12(18), 7324.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31