ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การผ่านการรับรู้วัฒนธรรมองค์การและการกำกับตนเองของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน

ผู้แต่ง

  • คงกฤช วุฒิสุชีวะ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, วัฒนธรรมองค์การ, การกำกับตนเอง, พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้วัฒนธรรมองค์การของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน (2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อการกำกับตนเองของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน (3) ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน (4) การรับรู้วัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน และ (5) การกำกับตนเองที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ ข้าราชการทหารกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้ อากาศยาน จำนวน 1,685 นาย กำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 340 นาย ด้วยวิธีการสุ่มแบบโควต้า โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ แบบจำลองสมการโครงสร้าง

ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการรับรู้วัฒนธรรมองค์การและการกำกับตนเองของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 นอกจากนี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การผ่านการรับรู้วัฒนธรรมองค์การและการกำกับตนเองของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน เท่ากับ 0.72 และมีอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 88 โดยแบบจำลองโครงสร้างมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี Chi-square เท่ากับ 153.334 และ p-value เท่ากับ 0.000 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงพิจารณาจากค่าดัชนีอื่น ๆ ประกอบตามที่กำหนดเกณฑ์ไว้ พบว่าค่า Chi-square ต่อ df เท่ากับ 1.825 ค่า GFI เท่ากับ 0.953 ค่า AGFI เท่ากับ 0.914 ค่า NFI เท่ากับ 0.977 ค่า CFI เท่ากับ 0.989 และค่า RMSEA เท่ากับ 0.049

References

กฤศณัฏฐ์ จันทร์. (2560). รายงานการวิจัยเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนายทหารสัญญาบัตรศูนย์ประสานงานกับประเทศเพื่อนบ้าน. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการทัพบก.

กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สามลดา.

เจษฎา มีบุญลือ. (2553). ความมั่นคงแห่งชาติ: การสร้างชาติไทยให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2553). การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ธีระยุทธ เมฆประสาท. (2559). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่อ วัฒนธรรมองค์การ ความพึงพอใจ ในการทำงานความผูกพันต่อองค์การ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรม ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 6, 81-96.

นุช สัทธาฉัตรมงคล และอรรถพล ธรรมไพบูลย์. (2559). ผู้นำการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(1), 167-182.

เบญจวรรณ แสงจันทร์ และดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2561). จิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของกองบัญชาการกองทัพไทย. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 9(2), 74-85.

แผนกวิชาทหารปืนใหญ่. (2562). วิชาปืนใหญ่สนาม และปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน. สืบค้นจาก http://www.crma.ac.th/msdept/prakunmsdept/paper/book204a.pdf

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: ธิงค์ ปียอนด์ บุ๊คส์.

ภัคภณ สนิทสม และณัฐพล จารัตน์. (2558). คุณลักษณะผู้นำทางทหารที่พึ่งปประสงค์ของกองทัพไทย. วารสารนักบริหาร, 35(1), 75-86.

รุ่ง โอชารส. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชน ในเขตตรวจราชการที่ 3 กระทรวงสาธารณสุข. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 17(3), 58-68.

ศุภกฤษ์ สุดยอดประเสริฐ. (2560). ระบบราง ความมั่นคงของประเทศและคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน. สืบค้นจาก http://www.otp.go.th/uploads/files/1502786189-qrd1s-vceqy.pdf

สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สุรินทร์ ชุมแก้ว. (2556). วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นำแบบสร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการทำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารในองค์การเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: เปลี่ยนความท้าทายสู่ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 845-860.

Alam, S. (2014). The relationship between emotional intelligence and transformational leadership in sports managers. European Journal of Experimental Biology, 4(3), 352-356.

Andressen, P., Konradt, U., & Neck, C. P. (2012). The relation between self-leadership and transformational leadership: Competing models and the moderating role of virtuality. Journal of Leadership & Organizational Studies, 19(1), 68-82.

Avinash, K., & Lima, R. (2009). Identification of causes of organizational citizenship behavior: A Qualitative study of LIC managers. Indian Journal of Social Science Researches, 6(2), 17-28.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall

Baumeister, R. F., & Vohs, K. D. (2004). Handbook of self-regulation: Research, theory, and applications. New York, NY, US: The Guilford Press.

Burns, J. M. (1978) Leadership. New York: Harper & Row.

Daft, R. L. (1999). Leadership: Theory and practice. Harcourt College Pub.

Gavora, P., Jakešová, J., & Kalenda, J. (2015). The Czech validation of the self-regulation questionnaire. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 171, 222-230.

Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). London: Pearson Education Limited.

Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2005). Educational administration (7th ed.). New York: McGraw-Hill.

Lan, Y., & Chen, Z. (2020). Transformational Leadership, Career Adaptability, and Work Behaviors: The Moderating Role of Task Variety. Frontiers in Psychology, 10, 2922.

LePine, M. A., Zhang, Y., Crawford, E. R., & Rich, B. L. (2016). Turning their pain to gain: Charismatic leader influence on follower stress appraisal and job performance. Academy of Management Journal, 59(3), 1036-1059.

McShane, S. L., & Von Glinow, M. A. (2009). Organizational behavior: Essentials. New York: McGraw-Hill Companies, Inc .

Organ, D. W. (1988). Organizational citizenship behavior: The good soldier syndrome. Massachusetts: D.C. Health and Company.

Qiu, Y., Lou, M., Zhang, L., & Wang, Y. (2020). Organizational citizenship behavior motives and thriving at work: The mediating role of citizenship fatigue. Sustainability, 12(6), 1-17.

Thiruvenkadam, T., & Durairaj, I. Y. A. (2017). Organizational citizenship behavior: Its definitions and dimensions. GE-International Journal of Management Research, 5(5), 46-55.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row Publication.กฤศณัฏฐ์ จันทร์. (2560). รายงานการวิจัยเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนายทหารสัญญาบัตรศูนย์ประสานงานกับประเทศเพื่อนบ้าน. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการทัพบก.

กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สามลดา.

เจษฎา มีบุญลือ. (2553). ความมั่นคงแห่งชาติ: การสร้างชาติไทยให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2553). การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ธีระยุทธ เมฆประสาท. (2559). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่อ วัฒนธรรมองค์การ ความพึงพอใจ ในการทำงานความผูกพันต่อองค์การ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรม ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 6, 81-96.

นุช สัทธาฉัตรมงคล และอรรถพล ธรรมไพบูลย์. (2559). ผู้นำการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(1), 167-182.

เบญจวรรณ แสงจันทร์ และดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2561). จิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของกองบัญชาการกองทัพไทย. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 9(2), 74-85.

แผนกวิชาทหารปืนใหญ่. (2562). วิชาปืนใหญ่สนาม และปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน. สืบค้นจาก http://www.crma.ac.th/msdept/prakunmsdept/paper/book204a.pdf

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: ธิงค์ ปียอนด์ บุ๊คส์.

ภัคภณ สนิทสม และณัฐพล จารัตน์. (2558). คุณลักษณะผู้นำทางทหารที่พึ่งปประสงค์ของกองทัพไทย. วารสารนักบริหาร, 35(1), 75-86.

รุ่ง โอชารส. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชน ในเขตตรวจราชการที่ 3 กระทรวงสาธารณสุข. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 17(3), 58-68.

ศุภกฤษ์ สุดยอดประเสริฐ. (2560). ระบบราง ความมั่นคงของประเทศและคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน. สืบค้นจาก http://www.otp.go.th/uploads/files/1502786189-qrd1s-vceqy.pdf

สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สุรินทร์ ชุมแก้ว. (2556). วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นำแบบสร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการทำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารในองค์การเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: เปลี่ยนความท้าทายสู่ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 845-860.

Alam, S. (2014). The relationship between emotional intelligence and transformational leadership in sports managers. European Journal of Experimental Biology, 4(3), 352-356.

Andressen, P., Konradt, U., & Neck, C. P. (2012). The relation between self-leadership and transformational leadership: Competing models and the moderating role of virtuality. Journal of Leadership & Organizational Studies, 19(1), 68-82.

Avinash, K., & Lima, R. (2009). Identification of causes of organizational citizenship behavior: A Qualitative study of LIC managers. Indian Journal of Social Science Researches, 6(2), 17-28.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall

Baumeister, R. F., & Vohs, K. D. (2004). Handbook of self-regulation: Research, theory, and applications. New York, NY, US: The Guilford Press.

Burns, J. M. (1978) Leadership. New York: Harper & Row.

Daft, R. L. (1999). Leadership: Theory and practice. Harcourt College Pub.

Gavora, P., Jakešová, J., & Kalenda, J. (2015). The Czech validation of the self-regulation questionnaire. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 171, 222-230.

Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). London: Pearson Education Limited.

Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2005). Educational administration (7th ed.). New York: McGraw-Hill.

Lan, Y., & Chen, Z. (2020). Transformational Leadership, Career Adaptability, and Work Behaviors: The Moderating Role of Task Variety. Frontiers in Psychology, 10, 2922.

LePine, M. A., Zhang, Y., Crawford, E. R., & Rich, B. L. (2016). Turning their pain to gain: Charismatic leader influence on follower stress appraisal and job performance. Academy of Management Journal, 59(3), 1036-1059.

McShane, S. L., & Von Glinow, M. A. (2009). Organizational behavior: Essentials. New York: McGraw-Hill Companies, Inc .

Organ, D. W. (1988). Organizational citizenship behavior: The good soldier syndrome. Massachusetts: D.C. Health and Company.

Qiu, Y., Lou, M., Zhang, L., & Wang, Y. (2020). Organizational citizenship behavior motives and thriving at work: The mediating role of citizenship fatigue. Sustainability, 12(6), 1-17.

Thiruvenkadam, T., & Durairaj, I. Y. A. (2017). Organizational citizenship behavior: Its definitions and dimensions. GE-International Journal of Management Research, 5(5), 46-55.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30