แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย
คำสำคัญ:
สังคมผู้สูงอายุ, แนวทางแก้ปัญหา, ประเทศไทยบทคัดย่อ
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้กำลังแรงงานและผลิตผลลดลง ปัญหาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และการใช้งบประมาณจำนวนมากในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ ดังนั้น แนวทางแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุรัฐควรถือเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน ควรส่งเสริมให้มีการจ้างงานผู้สูงอายุให้ทำงานตามความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ขยายกรอบเวลาการเกษียณงาน การตั้งกลุ่มอาชีพแก่ผู้สูงอายุ และควรปรับปรุงระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุที่นำไปปฏิบัติให้เกิดรูปธรรม เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการหรือเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและเป็นธรรม
References
จรัญญา วงษ์พรหมและคณะ. (2558). กลไกการส่งเสริมการมีงานทําของผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบ. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชมพูนุท พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. บทความวิชาการ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (สืบค้นจาก http://library.senate.go.th)
ธนภรณ์ จิตตินันทน์และณัคนางค์ กุลนาถศิริ. (2560). ถอดบทเรียนนโยบายรับมือสังคมสูงวัยจากต่างประเทศ. สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (http://themoment.om.co/happy.lifeaging.society.)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(2557). สังคมผู้สูงอายุ: นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. (สืบค้นจาก https://www.stou.ac.th/stounline/lom/data/ )
มัทยา ศรีพนา. (2557). การจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. บทความวิชาการ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (สืบค้นจาก http://library.senate.go.th)
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2559, (3-5). นครปฐม :พริ้นเทอรี่.
สมประวิณ มันประเสริฐ (2010). การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีต่อแบบแผนการบริโภคของครัวเรือนไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
อาภรณ์ ชีวะเกรียงไกร. (2560). ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. กรุงเทพธุรกิจ. (สืบค้นจาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ