ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลในการบริหารองค์กร
คำสำคัญ:
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ประสิทธิผล, การบริหารองค์กรบทคัดย่อ
ปัจจุบันทุกองค์กรล้วนต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นความท้าทายในการดำเนินงานขององค์กรที่ต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งนี้ การนำพาองค์กรให้อยู่รอดท่ามการสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจะต้องอาศัยผู้นำที่มีวิสัยทัศน์และสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้มากกว่าผู้นำโดยทั่วไป ทำให้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีบทบาทที่สำคัญในการจัดการกับประสิทธิผลในการบริหารองค์กร ด้วยการใช้แรงจูงใจ ความผูกพันของพนักงาน วัฒนธรรมองค์การ การสื่อสาร ประสิทธิผลของทีมงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร นอกจากนี้ ยังมีความสำคัญที่จะต้องสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานเชิงบวก วัฒนธรรมองค์การที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมและความมุ่งมั่นของพนักงาน การกำหนดและสื่อสารด้วยวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน รวมถึงสร้างทีมงานและมอบหมายงานที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการบริหารองค์กรยังมีความแตกต่างกันในอุตสาหกรรมและบริบทต่าง ๆ ที่อยู่นอกเหนืออิทธิพลจากวัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างองค์กร และรูปแบบภาวะผู้นำที่ทำให้เกิดประสิทธิผลการบริหารองค์กร ดังนั้น ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สามารถจัดการประสิทธิผลการบริหารองค์กรได้นั้นจะต้องทำความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมโดยรอบขององค์กร รวมไปถึงการเข้าใจถึงความสลับซับซ้อนและความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลง เพื่อจะสามารถเตรียมมาตรการและนโยบายในการรับมือและปรับตัวของพนักงานและองค์กรที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทั้งในปัจจุบันและอนาคต จึงจะทำให้องค์กรนั้นอยู่รอดและประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืน
References
กนกวรรณ ศรีสุนทร และทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2565). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(12), 101-117.
กาณติมา พงษ์นัยรัตน์. (2563). ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง. วารสารสังคมศาสตร์, 9(2), 21-27.
จิระพงค์ เรืองกุน. (2556). การเปลี่ยนแปลงองค์กร: แนวคิด กระบวนการ และบทบาทของนักบริหาร ทรัพยากรมนุษย์. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(1), 194-203.
ณัชทรากานต์ แสนอุบล, พิชัย ลัทธศักดิ์ศิริ, สุขจิตต์ ณ นคร, พิชัย ทรัพย์เกิด และธนัตถ์นันท์ สุขโชคนิธิโภคิณ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย จํากัด (มหาชน). วารสารรัชต์ภาคย์, 15(43), 293-303.
ปกิตน์ สันตินิยม. (2563). ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กรภายใต้ยุคการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2), 10-19.
พระโฆษิต โฆสิตธมฺโม. (2565). การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 เพื่อการบริหารองค์กรสู่ความสำเร็จ. วารสารธรรมวัตร, 3(1), 39-47.
พระปลัดสุระ ญาณธโร. (2018). การสร้างความเปลี่ยนแปลงตามบทบาทภาวะผู้นำ. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 5(1), 65-78.
พลกฤต รักจุล, ประภัสสร วรรณสถิต, กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ และชัยวัฒน์ ใบไม้. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความผูกพัน และความตั้งใจที่จะคงอยู่ของพนักงาน: ทบทวนวรรณกรรม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(12), 15-29.
พลอยชมพู ทับเอม, มณีนุช จุ้ยเอี่ยม และธนัสถา โรจนตระกูล. (2565). การพัฒนาภาวะผู้นำ: จากทฤษฎีสู่แนวทางการปฏิบัติที่ดีในองค์กร. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(12), 304-319.
สุรวุฒ ณ ระนอง. (2566). การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการบริหารองค์กร. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(1), 189-198.
สุรศักดิ์ สุวุมโฑ, ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์ และบัณฑิต ผังนิรันดร์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการสื่อสารทางการตลาดแบบผสมผสานภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการคิดเชิงนวัตกรรมและผลการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ในบริบทประเทศไทย. พัฒนาเทคนิคศึกษา, 30(105), 112-121.
Albrecht, S. L., Bakker, A. B., Gruman, J. A., Macey, W. H., & Saks, A. M. (2015). Employee engagement, human resource management practices and competitive advantage: An integrated approach. Journal of Organizational Effectiveness: People and Performance, 2(1), 7-35.
Avolio, B. J., & Bass, B. M. (1995). Individual consideration viewed at multiple levels of analysis: A multi-level framework for examining the diffusion of transformational leadership. Leadership Quarterly, 6(2), 199-218.
Avolio, B. J., Walumbwa, F. O., & Weber, T. J. (2009). Leadership: Current theories, research, and future directions. Annual Review of Psychology, 60, 421-449.
Bass, B. M. (1990). From transactional to transformational leadership: Learning to share the vision. Organizational dynamics, 18(3), 19-32.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Thousand Oaks, CA: Sage Publications.
Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership (2nd ed.). New York, NY: Psychology Press.
Boselie, P., Paauwe, J., & Richardson, R. (2013). Human resource management and performance: Lessons from the Netherlands. Journal of Management, 39(6), 1666-1697.
Burns, T. (1978). Leadership. New York, NY: Harper & Row.
Cameron, K. S., & Quinn, R. E. (2011). Diagnosing and Changing Organizational Culture: Based on the Competing Values Framework (3rd ed.). San Francisco: Jossey-Bass.
Chen, J., & Huang, J. (2019). High-performance work systems and employee creativity: Role of psychological empowerment and intrinsic motivation. Journal of Business Research, 96, 365-376.
Chen, J., Huang, J., & Li, Y. (2018). Work design for employee creativity: The role of task complexity and autonomy. Journal of Business Research, 89, 1-9.
Choi, S., Oh, I.-S., & Colbert, A. E. (2015). Understanding organizational commitment: A meta-analytic examination of the roles of the five-factor model of personality and culture. Journal of Applied Psychology, 100(5), 1542-1567.
Damanpour, F., Walker, R. M., & Avellaneda, C. N. (2009). Combinative effects of innovation types and organizational performance: A longitudinal study of service organizations. Journal of Management Studies, 46(4), 650-675.
De Smet, A., Muratovic, A., Zimmermann, B., & Kocher, J. (2017). Leading with inner agility. McKinsey Quarterly, 2, 30-39.
Den Hartog, D. (2015). Leadership and power. In G. Goethals, G. J. Sorenson, & J. M. Burns (Eds.), Encyclopedia of leadership (2nd ed., pp. 827-834). Thousand Oaks, CA: SAGE Publications.
Denison, D. R., & Mishra, A. K. (1995). Toward a theory of organizational culture and effectiveness. Organization Science, 6(2), 204-223.
Erdogan, B., Bauer, T. N., Truxillo, D. M., & Mansfield, L. R. (2012). Whistleblowing intentions of lower-level employees: The effect of reporting channel, bystanders, and wrongdoer power status. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 119(2), 206-219.
Fornell, C., & Cha, J. (2015). Partial least squares. In V. Srinivasan (Ed.), Handbook of marketing research: Uses, misuses, and future advances (pp. 45-81). Thousand Oaks, CA: Sage Publications.
Garcia-Lorenzo, L., & Clegg, S. R. (2019). The paradoxical case of the future-focused organization: Anticipating and denying organizational decline. Organization Studies, 40(4), 567-589.
Giallonardo, L. M., Wong, C. A., & Iwasiw, C. L. (2010). Authentic leadership of preceptors: predictor of new graduate nurses' work engagement and job satisfaction. Journal of Nursing Management, 18(8), 993-1003.
Gong, Y., Huang, J. C., & Farh, J. L. (2009). Employee learning orientation, transformational leadership, and employee creativity: The mediating role of employee creative self‐efficacy. Academy of Management Journal, 52(4), 765-778.
Govindarajan, V., & Gupta, A. K. (2018). The quest for global dominance: Transforming global presence into global competitive advantage. Hoboken, NJ.: John Wiley & Sons.
Gustafsson, J., Jansson, A., & Nordvall, A. C. (2016). Impact of lean implementation on organisational culture: a longitudinal case study. International Journal of Production Research, 54(5), 1395-1410.
Han, J. H., Oh, S., & Lee, D. (2015). Transformational leadership and employee creativity: mediating role of creative self-efficacy. Social Behavior and Personality: An International Journal, 43(2), 201-212.
Judge, T. A., & Piccolo, R. F. (2004). Transformational and transactional leadership: A meta-analytic test of their relative validity. Journal of Applied Psychology, 89, 755-768.
Khodyakov, D. M. (2007). The complexity of trust-control relationships in creative organizations: Insights from a qualitative analysis of a conductorless orchestra. Social Forces, 86(1), 1-22.
Kim, J. H., & Beehr, T. A. (2017). Self-efficacy and psychological ownership mediate the effects of empowering leadership on both good and bad employee behaviors. Journal of Leadership & Organizational Studies, 24(3), 364-374.
Li, Y., Liang, Y., Zhang, Q., & Huang, X. (2016). The impact of ethical leadership on employee voice: An empirical investigation in China. Journal of Business Ethics, 139(2), 341-359.
Lowe, K. B., Kroeck, K. G., & Sivasubramaniam, N. (1996). Effectiveness correlates of transformational and transactional leadership: A meta-analytic review of the MLQ literature. Leadership Quarterly, 7(3), 385-425.
Macey, W. H., & Schneider, B. (2016). The meaning of employee engagement. Industrial and Organizational Psychology, 9(01), 3-30.
Reay, T., Golden-Biddle, K., & Germann, K. (2013). Challenges and leadership strategies for managers of blended organizations. Academy of Management Journal, 56(2), 429-449.
Robbins, S. P., & Coulter, M. (2016). Management (13th ed.). Pearson Education Limited: Harlow.
Rosenberg, M. J., & Pearce, J. A. (2010). Strategic alliances: A synthesis of conceptual foundations. Journal of Business Research, 63(2), 154-162.
Siemiatycki, M., McKeown, L., & Prakash, G. (2017). Navigating paradoxical tensions in corporate sustainability: The challenge of balancing “hard” and “soft” power. Organization & Environment, 30(2), 176-194.
Van Dierendonck, D., & Nuijten, I. (2011). The servant leadership survey: Development and validation of a multidimensional measure. Journal of Business and Psychology, 26(3), 249-267.
Wang, J., & Li, Y. (2017). Leader humility and employee creativity: The role of employee bottom-up voice and openness. Journal of Business Research, 81, 63-72.
Wang, L., Pan, W., & Zhou, X. (2015). Transformational leadership and employee voice behavior: A Pygmalion mechanism. Journal of Organizational Behavior, 36(7), 969-989.
Xiong, J., Zhang, Y., Hong, J., & Chen, Y. (2018). How ethical leadership influence employees’ innovative work behavior: A perspective of intrinsic motivation. Journal of Business Ethics, 153(3), 625-637.
Zhu, J., Zhang, R., & Chen, X-P. (2019). Ethical leadership and prosocial rule breaking in China: The role of corporate ethical values and institutional collectivism. Journal of Business Ethics, 154(2), 359-375.
Zhu, Y., & Li, Y. (2019). Inclusive leadership and employee well-being: The mediating role of person-job fit. Frontiers in Psychology, 10, 2181.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สุดาวดี เตบุญมี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ