ความสำคัญของการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • จิราวัฒน์ แสงเป๋า โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ศุภสิทธิ์ จารุพัฒน์หิรัญ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • สุภา ทองคง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล , การเปิดเผยข้อมูล , ความยั่งยืน , ความสำคัญ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) เพิ่มมากขึ้น มีการกระตุ้นให้บริษัทต่าง ๆ เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ESG การเปลี่ยนแปลงนี้มีรากฐานมาจากความสำคัญที่เพิ่มขึ้นของข้อมูล ESG สำหรับทั้งนักลงทุนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อใช้ในการตัดสินใจลงทุนและการมีส่วนร่วมต่อองค์กร การเปิดเผยข้อมูล ESG ชี้ให้เห็นถึงการดำเนินการเพื่อความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งส่งผลต่อชื่อเสียงที่ดีของกิจการและดึงดูดความสนใจของนักลงทุนได้มากขึ้น นักลงทุนจะใช้ข้อมูลด้าน ESG ประเมินบริษัทร่วมกับข้อมูลทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูลนี้ทำให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ส่งเสริมเป้าหมายหลักของบริษัทคือการแสวงหาความมั่งคั่งสูงสุดให้ผู้ถือหุ้น ซึ่งวัดได้จากราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงที่สุด จากงานวิจัยที่ผ่านมา พบว่า บริษัทที่มีคะแนนการเปิดเผยข้อมูลด้าน ESG ที่สูง ส่งผลต่อผลการดำเนินงานและมูลค่ากิจการเพิ่มสูงขึ้น สามารถสร้างผลตอบแทนได้สม่ำเสมอในระยะยาว การเปิดเผยข้อมูลด้าน ESG เป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบัน แนวทางนี้จะช่วยให้บริษัทต่าง ๆ มีความมุ่งมั่นที่จะดำเนินงานตามหลักความยั่งยืนและรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทเป็นที่สนใจของนักลงทุนและได้เปรียบในการแข่งขัน

References

ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2564). ESG เมกะเทรนด์แห่งโลกการลงทุน. https://www.pwc.com/th/en/pwc-thailand-blogs/blog-20211122.html

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน. https://www.setsustainability.com/download/73ndbzry48hiows

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566a). การประเมินบรรษัทภิบาลและความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียน. http://setsustainability.com/page/cgr-thsi

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566b). หุ้นยั่งยืน - THAILAND SUSTAINABILITY INVESTMENT (THSI). https://setsustainability.com/page/thsi-thailand-sustainability-investment

นรีรัตน์ สันธยาติ, พรชัย ถาวรานนท์ และ สุกิจ กิตติบุญญานนท์. (2563). คู่มือการพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน สำหรับบริษัทจดทะเบียน. https://www.setsustainability.com/download/32jt9usirmoqa7w

วลัยภรณ์ ปรีชาสุนทรรัตน์. (2557). ความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการหรือบรรษัทบริบาล. http://oopm.rid.go.th/subordinate/opm9/pdf/km/2557_1/file_2557_8.pdf

สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย. (2562). ESG ปัจจัยสำคัญสู่แนวทางการประกอบธุรกิจตามหลักความยั่งยืน. http://www.asco.or.th/uploads/upfiles/files/ASCO%20article_ESG_ed.pdf

Bahaaeddin, A. A., & Hamdan, A. (2020). ESG impact on performance of US S&P 500-listed firms. Corporate Governance, 20(7), 1409-1428.

Aydogmus, M., Gulay, G., & Ergun, K. (2022). Impact of ESG performance on firm value and profitability. Borsa Istanbul Review, 22, S119-S127.

Barnard, C. I. (1968). The functions of the executive (Vol. 11). Harvard university press.

Bloomberg. (2023). Bloomberg ESG & Climate Indices. https://www.bloomberg.com/professional/

product/indices/bloomberg-esg-and-climate-indices/

Clément, A., Robinot, É., & Trespeuch, L. (2023). The use of ESG scores in academic literature: a systematic literature review. Journal of Enterprising Communities: People and Places in the Global Economy. https://doi.org/10.1108/JEC-10-2022-0147

Dkhili, H. (2023). Does environmental, social and governance (ESG) affect market performance? The moderating role of competitive advantage. Competitiveness Review: An International Business Journal. https://doi.org/10.1108/CR-10-2022-0149

ESG Book. (2023). ESG Scores V2.6.2. https://www.esgbook.com/docs/marketing/userguides/USERGUIDE_ESGBook_SCO_ESG_262.pdf

Freeman, R. E. (1994). The politics of stakeholder theory: Some future directions. Business Ethics Quarterly, 4(4), 409-421.

Habib, A. M., & Mourad, N. (2023). The Influence of Environmental, Social, and Governance (ESG) Practices on US Firms’ Performance: Evidence from the Coronavirus Crisis. Journal of the Knowledge Economy, 1-22.

Jin, X., & Lei, X. (2023). A Study on the Mechanism of ESG’s Impact on Corporate Value under the Concept of Sustainable Development. Sustainability, 15(11), 8442.

MSCI ESG Research. (2023). ESG Ratings. https://www.msci.com/our-solutions/esg-investing/esg-ratings

Peng, L. S., & Isa, M. (2020). Environmental, social and governance (ESG) practices and performance in Shariah firms: agency or stakeholder theory?. Asian Academy of Management Journal of Accounting & Finance, 16(1), 1-34.

Pinheiro, A. B., Panza, G. B., Berhorst, N. L., Toaldo, A. M. M., & Segatto, A. P. (2023). Exploring the relationship among ESG, innovation, and economic and financial performance: evidence from the energy sector. International Journal of Energy Sector Management. https://doi.org/10.1108/IJESM-02-2023-0008

Pu, G. (2023). A non-linear assessment of ESG and firm performance relationship: evidence from China. Economic research-Ekonomska istraživanja, 36(1), 2113336.

Refinitiv. (2023). Refinitiv ESG company scores. https://www.refinitiv.com/en/sustainable-finance/esg-scores#company-esg-scores

Sustainometric. (2023). ESG to SDGs: Connected Paths to a Sustainable Future. https://sustainometric.com/esg-to-sdgs-connected-paths-to-a-sustainable-future/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27