“ทำไมคนไทยถึงต้องช่วยกันเอง” การเป็นอาสาสมัครภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษากลุ่มเส้นด้าย

ผู้แต่ง

  • สุวิดา นวมเจริญ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

อาสาสมัคร, การมีส่วนร่วมของประชาชน , การป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, กลุ่มเส้นด้าย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการเป็นอาสาสมัครภาคของภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของกลุ่มเส้นด้าย และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการเป็นอาสาสมัครของภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่อาจจะเกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันในอนาคต การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกรณีศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบกรณีศึกษา โดยใช้เทคนิควิธีการสังเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ และการทำสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อยืนยันข้อมูล เอกสารทุติยภูมิอยู่ในรูปของเอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ ข่าว บทสัมภาษณ์ของสื่อมวลชน ฯลฯ จำนวน 24 รายการ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสามเส้าโดยวิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นสาระ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยแสดงสภาพปัญหาของการเป็นอาสาสมัครภาคของภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของกลุ่มเส้นด้ายที่มาจากสภาวการณ์และเงื่อนไขในด้านนโยบายของรัฐ สภาพแวดล้อมภายนอกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและแรงจูงใจ ซึ่งเป็นเงื่อนไขเชิงลบ แนวทางการพัฒนาการเป็นอาสาสมัครของภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของกรณีศึกษา ได้แก่ พัฒนาระบบ Primary Care อาสาสมัครรูปแบบใหม่ และการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการทำงานอาสาสมัคร

References

ถวิลวดี บุรีกุล, (2565). ตัวชี้วัดการมีส่วนร่วม (E-book). สถาบันพระปกเกล้า: กรุงเทพฯ. https://www.kpi-lib.com/flippdf/kpiebook65034/kpiebook65034.html#p=2

รายงานของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน. (2560). การพัฒนารูปแบบการดำเนินภารกิจภาครัฐ: การปฏิรูประบบงานอาสาสมัครในภาครัฐ.https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/usergroup_disaster/2-21.pdf

เส้นด้าย ZEN-DAI. (2564). องค์กรอาสาสมัครเส้นด้าย ZEN-DAI. https://zen-dai.org/about-us/

Alias, S. N., Ismail, M., Suandi, T., & Omar, Z. (2018). Enhancing Volunteerism in Healthcare: Mediating Effect of Social Network. The International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 8(12), 155-177. http://dx.doi.org/10.6007/IJARBSS/v8-i12/5003

Drugau-Constantin, A., & Anghel-Sienert, A. K. (2022). Challenges of Civic Participation at EU–Level During COVID-19 Pandemic: European Citizens' Initiative. Applied Research in Administrative Sciences, 3(1). https://doi.org/10.24818/aras/2022/3/1.01

Floridou, G. A., & Naik, R. R. (2022). Community Engagement for COVID-19 Prevention and Control: A Systematic Review. Public Health and Toxicology, 2(2), 10. https://doi.org/10.18332/pht/149230

Kang, S. K., Dove, S., & Kim, H. (2022). Communication Factors Influencing Behavioral Intention of Prevention and Community Engagement during COVID-19 in the United States. Journal of Media Research, 15(2), 5-25. https://doi.org/10.24193/jmr.43.1

Li, W. K. (2023). Overlapping Functions: Volunteering and Other Forms of Civic Participation in the COVID-19 Disaster (Preprint). https://doi.org/10.31235/osf.io/upw43

Li, X., Fu, P., & Li, M. (2022). The Complex Media Effects on Civic Participation Intention Amid COVID-19 Pandemic: Empirical Evidence from Wuhan College Students. International Journal of Environmental Research and Public Health, 19(17), 11140. https://doi.org/10.3390/ijerph191711140

Miao, Q., Schwarz, S., & Schwarz, G. (2021). Responding to COVID-19: Community volunteerism and coproduction in China. World Development, 137, 105128. https://doi.org/10.1016/j.worlddev.2020.105128.

Pamenang, G. U., & Prihanto, P. (2022). Community Participation in Covid-19 Prevention and Transmission. Jurnal Kesehatan, 11(1), 33-38. https://doi.org/10.46815/jk.v11i1.75

Penner, L. A., Dovidio, J. F., Piliavin, J. A., & Schroeder, D. A. (2005). Prosocial behavior: Multilevel perspectives. Annual Review of Psychology, 56, 365-392. https://doi.org/10.1146/annurev.psych.56.091103.070141

Piliavin, J. A., & Charng, H. W. (1990). Altruism: A review of recent theory and research. Annual Review of Sociology, 16, 27-65. https://doi.org/10.1146/annurev.so.16.080190.000331

Rusu, D. E. (2018). Volunteerism: A Practical Type of Education for Enabling Development of Societal Abilities. A Literature Review. Research Journal of Social Science & Management, 8(4), 46-51.

Snyder, M., & Maki, A. (2015). Volunteerism, Psychology of. In International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences: Second Edition (pp. 268-272). Elsevier Inc.. https://doi.org/10.1016/B978-0-08-097086-8.22021-7

Stukas, A., Daly, M., & Cowling, M. J. (2005). Volunteerism and social capital: a functional approach. Australian journal on volunteering, 10(2), 35-44.

Susanti, R. D., Yudianto, K., Mulyana, A. M., & Amalia, I. N. (2023). A Systematic Scoping Review of Motivations and Barriers in COVID-19 Volunteering Among Health Students: The Potential for Future Pandemic Volunteers. Journal of Multidisciplinary Healthcare, 16, 1671-1681. https://doi.org/10.2147/jmdh.s411896.

Tian, L., & Wang, W. (2022). Attribution of Community Emergency Volunteer Behavior During the covid-19 Pandemic: A Study of Community Residents in Shanghai, China. Voluntas, 34(2), 239-251. https://doi.org/10.1007/s11266-021-00448-1.

Voinea, C., Profiroiu, C. M., & Profiroiu, A. (2022). The Public Participation of Civic Initiative Groups during the Covid-19 Pandemic in Romania: An Exploration of Public Participation Definitions, Obstacles, and Opportunities. Nispacee Journal of Public Administration and Policy, 15(2), 194-219. https://doi.org/10.2478/nispa-2022-0019

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-23