ผลกระทบของคุณภาพชีวิตการทำงานและบุพปัจจัยต่อความผูกพันกับองค์การ ของบุคลากรในเครือโรงพยาบาลมหาชนแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ภาระงาน, ความครียดจากการทำงาน , ความพึงพอใจในงาน , คุณภาพชีวิตการทำงาน , ความผูกพันกับองค์การบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบของภาระงานต่อความเครียดจากการทำงานและความพึงพอใจในงาน 2) เพื่อศึกษาผลกระทบของความเครียดจากการทำงานต่อความพึงพอใจในงานและคุณภาพชีวิตการทำงาน 3) เพื่อศึกษาผลกระทบของความพึงพอใจในงานต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน 4) เพื่อศึกษาผลกระทบของความพึงพอใจในงานต่อความผูกพันองค์การ และ 5) เพื่อศึกษาผลกระทบของคุณภาพชีวิตการทำงานต่อความผูกพันองค์การ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารและบุคลากรในเครือโรงพยาบาลมหาชนแห่งหนึ่งจำนวน 437 ตัวอย่าง เครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ตัวแบบจำลองสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า ภาระงานส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความเครียดจากการทำงาน (Gamma = - 0.913, t-statistics = - 5.621) และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน (Gamma = - 0.260, t-statistics = - 1.017) ความเครียดจากการทำงานส่งผลกระทบเชิงลบต่อความพึงพอใจในงาน (Beta = 0.529, t-statistics = 2.141) และคุณภาพชีวิตการทำงาน (Beta = 0.427, t-statistics = 2.741) ความพึงพอใจในงานส่งผลกระทบเชิงลบต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน (Beta = 0.257, t-statistics = 1.500) และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความผูกพันกับองค์การ (Beta = 0.237, t-statistics = 2.723) คุณภาพชีวิตการทำงานส่งผลกระทบเชิงบวกกับความผูกพันองค์การ (Beta = 0.427, t-statistics = 5.070)
References
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2566). ข้อมูล ความรู้ บทวิเคราะห์ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมทางการแพทย์ของประเทศไทย ชุดที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2566. https://mrd.hss.moph.go.th/mrd1_hss/wp-content/uploads/2023/05/บทวิเคราะห์ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการแพทย์ฯ-2566.pdf
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการดูแลสังคมจิตใจบุคลากรสุขภาพในภาวะวิกฤตโควิด-19. https://www.mhc10.go.th/myinfo/20210601044824.pdf
กฤษณา บุญเทียม. (2560). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรศาลยุติธรรม : ศึกษากรณีศาลยุติธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี [การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 14). ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจนจิราพร รอนไพริน. (2558). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฐิติกานต์ ศรีม่วง. (2565). ความเหนื่อยหน่ายจากภาระงานและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. College of Management Mahidol University E-Thesis and Thematic Paper. https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4338
ณัฐดนัย ตระกูลรัมย์และเพ็ญศรี ฉิรินัง. (2562). คุณภาพชีวิตการทำงานและความเครียดในการทำงานของเจ้าพนักงานเรือนจำ เรือนจำพิเศษธนบุรี. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 7(3), 66-76.
เดชา เดชะวัฒนไพศาล. (2563). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ พื้นฐานแนวคิดเพื่อการปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่2) สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัลพงศ์ สุวรรณวาทิน. (2559). การรับรู้ภาระงานและความเหนื่อยหน่ายในการทางานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน โดยมีการสื่อสารภายในองค์การและความเครียดในการทำงานเป็นตัวแปรกำกับ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TU Digital Collection. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:93422
พิมพ์ ศรีทองคำ. (2557). ความเครียดในการปฏิบัติงาน ภาวะผู้นำ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานปฏิบัติการในบริษัทเอกชนที่นำเข้าและจัดจำหน่ายสินค้าแฟชั่นแห่งหนึ่ง [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. BU Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1964
พูลสุข นิลกิจศรานนท์. (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-65: ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน. https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/services/private-hospitals/io/io-private-hospitals.
ภคณัฏฐ์ สวัสดิวิศิษฏ์. (2556). ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการทางานกับคุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันในองค์การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. http://www.repository.rmutt.ac.th/handle/123456789/1908
ภากร แสงเนียม. (2564). อิทธิพลของวัฒนธรรมองค์การ สภาพแวดล้อมในการทำงาน และความเครียด ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานโรงงานแห่งหนึ่ง ในจังหวัดปทุมธานี [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. BU Research. http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/4719
มาริสา ตาแก้ว. (2561). โมเดลสมการโครงสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงาน การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง : กรณีศึกษา บุคลากรสำนักงานทางหลวงที่ 18 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. PSU Knowledge Bank. http://kb.psu.ac.th:8080/psukb/handle/2016/12550
วราภรณ์ สกุลรัมย์. (2557). คุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
วิลาวัณย์ เพ็งพานิช, มาลีวัล เลิศสาครศิริ และสมพร ชินโนรส. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานความผูกพันต่อองค์กรกับการคงอยู่ในองค์กรของพยาบาลวิชาชีพสำเร็จใหม่ในโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่มุ่งแสวงหากำไร กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาล, 68(3), 30-38.
วีรภัทร สภากาญจน์. (2564). กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(4), 350-358.
ศิลาพร กันทา และชมภูนุช หุ่นนาค. (2562). คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. วารสารวไลยอลงกรณ์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(1), 120-134.
สาธิต วิกรานต์ธนากุล และ สมยศ อวเกียรติ. (2559). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรธุรกิจศูนย์การค้าเซ็นทรัล. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 14(1), 43-56.
สาวิตรี ยอยยิ้ม และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในงาน ผลการปฏิบัติงานและความต้องการออกจากงานของมัคคุเทศก์. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 12(2), 133-144.
สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2566). สธ. เผย ปัญหาขาดแคลนแพทย์สะสมมานาน เดินหน้าเพิ่มการผลิต พร้อมดูแลสมดุลชีวิตและการทำงานบุคลากรทั้งระบบ. https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/192598/
สุวิมล ติรกานันท์. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฎิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 11). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ สระศรีสม. (2564). ภาระงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรกองคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3963
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้. (2564). การสร้างความผูกพันและธำรงรักษาบุคลากร. http://www.fio.co.th/fio/human/download/hum640208.pdf.
อนัญญา ยลถวิล, ประยงค์ มีใจซื่อ และ วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2564). ผลกระทบของภาระงานและความเครียดในการทำงานที่มีต่อความตั้งใจลาออกของบุคลากรในกรมสรรพากร. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 16(1), 97 – 111.
อัครายุตม์ กาญจนเสถียร. (2562). ทัศนคติ แรงจูงใจและบรรยากาศในการทำงานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย บริษัท รักษาความปลอดภัยแอลโซคไทย เซอร์วิสเซส จํากัด [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3686
อัจฉรา โพชะโน, นฤมล ปทุมารักษ์ และพัชราภรณ์ อารีย์ (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น คุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันในองค์กรของพยาบาลวิชาชีพศูนย์อนามัย กระทรวงสาธารณสุข. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 43(2), 21-34.
อัญชลี เตียวเจริญ. (2562). ความเครียดจากการทำงานและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดอุบัติการณ์ทางรถยนต์ของผู้แทนยาบริษัทยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. BUU Library. https://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/59920296.pdf
อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ. (2565). ความน่าเชื่อถือของชุดตรวจโควิด-19 แบบรวดเร็วในช่วงต้นของการติดเชื้อ. https://ihri.org/th/through-udoms-lens-ep3/#:~:text=องค์การอาหารและยาของ,และโดยรวมแล้วองค์การ
อุทุมพร รุ่งเรือง. (2555). ความพึงพอใจในการทำงาน ที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทอุตสาหกรรมแปรรูปโครงสร้างเหล็ก [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Integrated Thesis & Research Management System. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Man/Utomphorn_R.pdf
Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of Occupational Psychology, 12(63), 1-18.
Demerouti, E., Bakker, A. B., Nachreiner, F., & Schaufeli, W. B. (2001). The job demands-resources model of burnout. Journal of Applied psychology, 86(3), 499-512.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th Edition). Pearson.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Namon Sapboonyachot, Prayong Meechaisue, Norapol Chinundech
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ