ผลกระทบของนวัตกรรมและบุพปัจจัยต่อการรับรู้ผลการดำเนินงานองค์การ ของเทศบาลในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง , องค์การแห่งการเรียนรู้ , วัฒนธรรมองค์การ , การมุ่งเน้นนวัตกรรมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของนวัตกรรมและบุพปัจจัยต่อการรับรู้ผลการดำเนินงานองค์การของเทศบาลในประเทศไทย ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสม การวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบเจาะจง จำนวน 12 คน การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูล โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือบุคลากรของเทศบาลในประเทศไทย ตำแหน่งนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ และหัวหน้าฝ่าย จำนวน 401 ตัวอย่าง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณณาประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบทางบวกต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ และมีผลกระทบทางลบต่อวัฒนธรรมองค์การ แต่ไม่ส่งผลกระทบทางตรงต่อนวัตกรรม องค์การแห่งการเรียนรู้มีผลกระทบทางบวกต่อวัฒนธรรมองค์การและนวัตกรรม วัฒนธรรมองค์การมีผลกระทบทางบวกต่อการรับรู้ผลการดำเนินงานองค์การ แต่ไม่ส่งผลกระทบทางตรงต่อนวัตกรรม และนวัตกรรมมีผลกระทบทางบวกต่อการรับรู้ผลการดำเนินงานองค์การ สอดคล้องกับการสัมภาษณ์เชิงลึก ข้อค้นพบที่ได้จะเห็นได้ว่าภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง องค์การแห่งการเรียนรู้ วัฒนธรรมองค์การ และนวัตกรรมเป็นบุพปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรับรู้ผลการดำเนินงานองค์การ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการประยุกต์ใช้นวัตกรรมเพื่อให้เกิดผลการดำเนินงานองค์การที่ดีของเทศบาลต่อไป
References
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2565). ยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2560-2569. http://www.dla.go.th/visit/stategics.pdf
กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2563). ปัจจัยเหตุและผลของการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคบริการของประเทศไทย. คลังข้อมูลสถาบันมหาวิทยาลัยศรีปทุม. https://dspace.spu.ac.th/items/62b9ca45-6cad-4437-ba33-0fc0622d2681
กุศล ทองวัน. (2553). ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และระดับการเป็นองค์กรนวัตกรรม: กรณีศึกษา สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. วารสารบริหารธุรกิจ, 33(128), 34-48.
เกศกนก แสงอุบล, พัชราภรณ์ อารีย์ และ เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2565). โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความสามารถด้านนวัตกรรมของผู้บริหารฝ่ายการพยาบาลต่อผลการดำเนินงานขององค์กรการพยาบาล ในโรงพยาบาลเอกชน. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 15(3), 40-57.
แจ่มจันทร์ คล้ายวงษ์ และบัณฑิต ผังนิรันดร์. (2563). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง นวัตกรรมองค์กรและการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(4), 127-144.
เฉลิมชัย ส่งศรี. (2559). วัฒนธรรมองค์การและองค์การแห่งการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 17(2), 343-352.
ชุตินันท์ มุ่งการนา, วิภาวี พิจิตบันดาล, วรพิทย์ มีมาก และวรวิทย์ จินดาพล(2562). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ องค์การแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของเทศบาลนคร: การวิเคราะห์เส้นทาง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 11(21), 1-22.
ชูตระกูล ไชยเสนา, ชูเกียรติ รอดวงษ์ และรัชดากร ทมินเหมย. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับวัฒนธรรมองค์กรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 11(1), 46-59.
ไชยสิทธิ์ ปิยมาตย์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนสายวิทยาการของกองทัพบก [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. คลังข้อมูลสถาบันมหาวิทยาลัยศรีปทุม. https://dspace.spu.ac.th/items/a859456d-b6ba-43cd-a1b5-e508592ec783
ณรงค์ อยู่ปาน และพงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2559). วัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจและองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาเอกชน ประเภทสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในเขต 17 จังหวัดภาคเหนือในประเทศไทย. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 22(2), 114-124.
ณัฐวุฒิ วิเศษ. (2563). องค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีผลต่อการดำเนินงานของการเป็นนวัตกรรมองค์การของมหาวิทยาลัยเอกชนภาคกลาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 6(3), 132-148.
เดชา ลุนาวงษ์. (2564). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. SNRU e-Thesis. https://gsmis.snru.ac.th/e-thesis/thesis_detail?r=62632233106
ทัธภร ธนาวริทธิ์. (2563). ความเหมาะสมของบุคคลกับสิ่งแวดล้อมในการทำงานและพฤติกรรมการสร้างนวัตกรรมในการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิติ รัตนปรีชาเวช. (2553). ผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจากมุมมองแนวคิดองค์การแห่งการเรียนรู้และนวัตกรรมองค์กร [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. คลังปัญญาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. https://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2553/b166390.pdf
นิมิตร โสชารี. (2559). รูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม).
บุญช่วย ศิริเกษ. (2560). การศึกษาวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวิทยาเขตศรีล้านช้าง. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(2), 65-69.
ปราณี มีหาญพงษ์, จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง, สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์ และเนตรชนก ศรีทุมมา. 2562. รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง องค์กรแห่งการเรียนรู้ คุณภาพชีวิตการทำงานกับผลการดำเนินงานของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 29(1), 111-124.
ปริณ บุญฉลวย. (2556). วัฒนธรรมองค์การ องค์การการเรียนรู้กับประสิทธิผลองค์การของศาลยุติธรรม: ตัวแบบสมการโครงสร้าง [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. NIDA Wisdom Repository. https://repository.nida.ac.th/items/e2178188-1c92-4d74-94b5-55909dccbd64
พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา. (2557). ปัจจัยเครือข่ายองค์กร องค์การแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรมองค์การและการให้บริการที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 5(2), 118-129.
พิชชาภา ตันเทียว และอรพรรณ คงมาลัย. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรนวัตกรรม บริบท การประปานครหลวง. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 18(1), 147-158.
พิศุทธิ์ กิติศรีวรพันธุ์. (2555). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของภาวะผู้นำทางวิชาการที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. SNRU e-Thesis. https://gsmis.snru.ac.th/e-thesis/thesis_detail?r=533JPe203
พีรวุฒิ ศิริศักดิ์. (2559). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความคิดสร้างสรรค์ ในองค์กร นวัตกรรมองค์กรที่มีต่อผลการดำเนินงานของค์กร : กรณีศึกษาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs). วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 27(3), 11-23.
รัชชพงษ์ ชัชวาล. (2560). โมเดลสมการโครงสร้างพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทย: ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนข้ามประเภทองค์การ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. PSU Knowledge Bank. https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12511?mode=full
วารุณี กุลรัตนาวิจิตรา. (2560). ปัจจัยด้านนวัตกรรมทางธุรกิจส่งผลต่อการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ประเภทบริการ) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:91177
วิเชียร จันทะเนตร, อุษณี มงคลพิทักษ์สุข และอริชัย เกตุจันทร์. (2564). ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 169-181.
ศิริพรรณ ตันติวิวัฒนพันธ์. (2555). อิทธิพลของทรัพยากรเชิงเทคโนโลยี และเชิงพฤติกรรมต่อผลการดำเนินงานนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ และด้านกระบวนการขององค์การในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริลักษณ์ จันทร์สว่าง. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางนวัตกรรม ความได้เปรียบทางการแข่งขันและประสิทธิผลขององค์กร: บริษัทที่จดทะเบียนในตลาคหลักทรัพย์ในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2555). บุพปัจจัยของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและผลที่มีต่อคุณลักษณะการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพนักงานในสถานประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
สมจินตนา คุ้มภัย. (2553). การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ:กรณีศึกษารัฐวิสาหกิจในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. NIDA Wisdom Repository. https://repository.nida.ac.th/items/100721b2-b129-4488-9de6-ceb3f6aca276
สมนึก เพชรช่วย. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมในโรงเรียนสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1, 2, 3, 4 และ 6. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(1), 193-203.
สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2562). ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมเพื่อผลการดำเนินงานขององค์กรที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2835
สุวิมล ติรกานันท์. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฎิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุพงษ์ ชุมแวงวาปี, สุเมธ งามกนก และสมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2561). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(3), 207-219.
Baldwin, J. R., & Joanne J. (1996). Business strategies in more and less innovative firms in Canada. Research Policy, 25,785-804.
Balthazard, P. A., Cooke, R. A., & Potter, R. E. (2006). Dysfunctional Culture, Dysfunctional Organization Capturing the Behavioral Norms that form Organizational Culture and Drive Performance. Journal of Managerial Psychology, 21, 709-732.
Bass, B. M. & Riggio, R. E. (2006). Transformational Leadership (2nd ed). Lawrence Erlbaum Associates.
Bass, B. M. (1985). Leadership and Performance beyond Expectation. The Free.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Sage.
Cameron, Kim S. & Quinn Robert E. (1999). Diagnosing and Changing Organization Culture. Addison-Wesley.
Chuck Williams. (2008). Effective Management (3rd ed). Thomson South-Western.
Daft, R. L. (2004). Organization theory and design. Thomson South-Western.
Davis, K. (1977). Human behavior at work. McGraw-Hill.
Denison D. R., & Mishra, A. K. (1995). Toward a theory of organizational culture and effectiveness. Organization Science, 6(2), 204-223.
Denison, D. R. (1990). Corporate culture and organizational effectiveness. John Wiley & Sons.
Denison, D. R., & Neale, W. S. (1996). Denison organization culture survey: Facilitators guide. Aviat.
Denison, D. R., Haaland, S., & Goelzer, P. (2003). Corporate culture and organizational effectiveness: Is there a similar pattern around the world?. Advances in Global Leadership, 3, 205-227.
Drucker, P. F. (1995). The practice of management. Butterworth-Heineman.
Drumm, M. (2012). Culture change in the public sector. The Institute for Research and Innovation in Social Services (Iriss). https://www.iriss.org.uk/resources/insights/culture-change-public-sector
Gomez, J., Llonch, J., & Rialp, J. (2011). Strategic orientation, innovation and performance of new SMEs. GSTF Business Review, 1(2), 76-79.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Pearson.
Handy C. (1991). Gods of Management: the Changing Work of Organizations. Business Books.
Jung, D. I., Chow, C., & Wu, A. (2003). The role of transformational leadership in enhancing organizational innovation: Hypotheses and some preliminary findings. Leadership Quarterly, 14, 525 - 544.
Kotter, P., & Heskett, J. L. (1992). Corporate culture and performance. Free Press.
Liao, S., Fei, W., & Liu, C. (2008). Relationships between Knowledge Inertia, Organizational Learning and Organization Innovation. Technovation, 28, 183-195.
Low, David R.; Chapman, Ross L. & Sloan, Terry R. (2008). Inter-Relationships Between Innovation and Market Orientation in SMEs. Management Research News, 30(12), 878-891.
Marquardt, M. J. (1996). Building The Learning Organization: A System Approach to Quantum Improvement and Global Succes. McGraw- Hill.
Miles, M. B. & Huberman, A. M. (1994). Qualitative data analysis (2nd ed.). Sage.
Mintzberg, H. (1993). The structuring of organizations. Prentice Hall.
Ouchi, W. G. (1981). Theory Z. how American business can meet the Japanese challenge. Addison-Wesley.
Park, Y. K., Ji, H. S., Seung, W. Y. & Kim, J. (2013). Learning organization and innovation behavior. European Journal of Training and Development, 38(1/2), 75-94.
Parker, S. K., Williams, H. M., & Turner, N. (2006). Modeling the antecedents of proactive behavior at work, Journal of Applied Psychology, 19(3), 636-652.
Peters, T. J., & Waterman, R. H. (1982). In search of excellence: Lessons from America's best-run companies. Harper & Row.
Porter, M. E. (1990). The Competitive Advantage of Nations. The Free Press.
Rubin, I. M. & Berlew, D. E. (1984). The power failure in organizations. Training and Development Journal, 38(1), 35-38.
Saki, S., Shakiba, H., & Savari M. (2013). Relationship the Organization and Organizational Innovation at University of Tehran. Journal of Organization Leadership and Leadership, 11(1), 1-18.
Satansuk, P. (2019). Developing An Innovation Ecosystems In The Government Electricity Generating Authority [Master’s thesis]. Thammasat University.
Schein, E. H. (1985). Organizational culture and leadership. Jossey-Bass.
Senge, P. M. (1990). The Fifth Discipline: The art and practice of the learning organization. Century Press.
Sheikhalizadeh, H. M. (2014). Effects of organizational culture on organizational effectiveness in Islamic Azad Universities of Northwest of Iran. Indian Journal of Fundamental and Applied Life Sciences, 4(s3), 250-256.
Singh, K. (2008). Relationship between learning organization a transformational leadership: Banking organizations in India. International Journal of Business and Management Science, 1(1), 97-111.
Su-Chao, Chang and Ming-Shing, Lee. 2008. Accumulation Capability and Organizational Innovation. Journal of Knowledge Management, 12(1), 3-20.
Tidd, J., Bessant, J., & Pavitt, K. (2005). Managing innovation: Integrating technological, market and organization change (3rd ed.). John Wiley & Sons.
Trompenaars, F., & Hampden-Turner, C. (2004). Managing People Across Cultures. Capstone.
Weinzimmer, L. G., Michel, E. J., & Franczak, J. L. (2011). Creativity and firm-level performance: The mediating effects of action orientation. Journal of Management Issues, 23(1), 62-82.
Yukl, G. A. (2002). Leadership in organizations focuses on effective Leadership in organizations through both theory and practice (5th cd.). Prentice Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วราภรณ์ ใจห้าว, ประยงค์ มีใจซื่อ, นรพล จินันท์เดช
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ