วัจนกรรมในเพลงกล่อมเด็กจังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

กรชนก นันทกนก

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัจนกรรมในเพลงกล่อมเด็กจังหวัดเชียงใหม่ จากหนังสือเพลงกล่อมเด็กล้านนาที่จัดทำขึ้นโดยสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 25 บทเพลง การศึกษาวัจนกรรมที่ปรากฏในเพลงกล่อมเด็กจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มีถ้อยคำทั้งหมด 191 ถ้อยคำและสามารถแบ่งวัจนกรรมได้ 5 ประเภทที่สอดคล้องกับ การจำแนกวัจนกรรม โดย Yule (1996) คือ การบอกเล่า การบ่งให้กระทำ การให้คำมั่น การแสดงความรู้สึกและการประกาศ วัจนกรรมที่พบมากที่สุด คือ วัจนกรรมการบ่งให้กระทำ รองลงมา คือ วัจนกรรมการบอกเล่าและวัจนกรรมที่พบน้อยที่สุด คือ วัจนกรรมการประกาศ 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พรรณเพ็ญ เครือไทย. (2552). เพลงกล่อมเด็กล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่: สุเทพการพิมพ์.

Khruethai, P. (2009). A Lanna Lullaby. Chiangmai: Suthep Printing. (in Thai)

รุ่งอรุณ ใจซื่อ. (2549). วัจนกรรมการแสดงความไม่พอใจในภาษาไทย: กรณีศึกษานิสิต นักศึกษา. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

Jaisue, R. (2006). The speech act of complaining in Thai: a case study of university students. (Master’s thesis, Chulalongkorn University). (in Thai)

ลมูล จันทร์หอม. (2526). โลกทัศน์ชาวล้านนาศึกษาจากเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

Janhom, L. (1983). Worldview of Lanna People Reflected through a Lanna Lullaby. N.P.: n.p. (in Thai)

วรรณสิริ จงกลสิริ. (2546). การศึกษาเปรียบต่างกลวิธีการชักชวนในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

Jonglolsiri, W. (2003). A contrastive study of invitation strategies in Japanese and Thai. (Master’s thesis, Chulalongkorn University). (in Thai)

สิริกร ไชยมา. (2546). เพลงเด็กท้องถิ่นล้านนา. แพร่: โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์.

Chaima, S. (2003). Lanna folksong. Phrae: Rongkwanganusorn School.

สุกัญญา ภัทราชัย. (2523). แบบโครงสร้างเพลงกล่อมเด็กอีสาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 1(3), 37-42.

Phatrachai, S. (1980). The Structure of Isan Lullabies. Humanities and Social Sciences. 1(3), 37-42. (in Thai)

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และ กุลธิดา ท้วมสุข. (2545). ภาพสะท้อนจากเพลงกล่อมเด็ก. วารสารวิจัย มข. 7(1): 78-85.

Leopenwong, S., & Tuamsuk, K. (2002). The Reflexes of Isan Lullabies. KKU Research Journal. 7(1): 78-85. (in Thai)

สุวรรณี ทองรอด. (2553). การศึกษาวิเคราะห์เพลงกล่อมเด็กตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 7(1): 1-23.

Thongrot, S. (2010). An Analytical Study of Lullabies in Tambon Trai – treung Mueang District, Kampheangphet Province. Journal of Humanities Naresuan University. 7(1): 1-23. (in Thai)

อลงกรณ์ อิทธิผล. (2558). การใช้วัจนกรรมจากบทร้องประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญเพื่อรักษาโรคของหมอเหยาชาวผู้ไทยใน 4 จังหวัด: กาฬสินธุ์ นครพนม สกลนคร และ มุกดาหาร. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 12(3), 93-106.

Itdhiphol, A. (2015). The Usage of Soul Recalling from Speech Acts of Phu-Thai Shamens in Therapeutic Ceremonies in 4 provinces of Thailand: Kalasin, Nakorn Phanom, Sakon Nakhon and Muk Dahan. Journal of Himanities Naresuan University, 12(3), 93-106. (in Thai)

อันธิกา ธรรมเนียม. (2548). การแสดงวัจนกรรมการขอโทษของทหารบก. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).

Thamniam, A. (2005). The speech act of apology expressed by Royal Thai Army Officers. (Master’s thesis, Kasetsart University). (in Thai)

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2559). อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ไทยดำภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Wongwattana, U. S. (2016). Language Identity, Wisdom and Inheritance of the Tai Dam Ethnicity in the Lower Northern Region. Phitsanulok: Naresuan University Publishing House. (in Thai)

อิงอร พึ่งจะงาม. (2554). การใช้วัจนกรรมและกลวิธีทางภาษาบนป้ายโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งปี พ.ศ. 2554. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและการสื่อสาระหว่างวัฒนธรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

Phuengchangam, E. (2011). Speech acts and language strategies used in electioneering posters of the election in 2011. (Master’s thesis, Silapakorn University). (in Thai)

อุดม รุ่งเรืองศรี. (2542). เพลงกล่อมเด็กและเพลงร้องเล่น. ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เล่ม 9. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

Rungruangsri, U. (1999). Lullaby and folksong. In Northern Cultural Encyclopedia No.9. Bangkok: Siam Commercial Bank PCL. (in Thai)

Yule, G. (1996). Pragmatics. Oxford: Oxford University Press.