บทรำเบิกโรง-โขนพระราชทานในฐานะสมุดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของไทย

Main Article Content

นพวรรณ เมืองแก้ว
พิชัย แก้วบุตร

บทคัดย่อ

            บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาเหตุการณ์สำคัญของไทยผ่านการแสดงเบิกโรงชุดรำถวายพระพรในโขนพระราชทาน ผลการวิจัยพบว่า จำนวนการแสดงเบิกโรงชุดรำถวายพระพรของโขนพระราชทานระหว่างปี พ.ศ. 2555-2562 มี 4 ครั้ง ซึ่งมีการบันทึกเรื่องราวสำคัญต่าง ๆ ของสังคมไทยไว้ ได้แก่ 1) การเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 2) เหตุการณ์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) 3) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้า อยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร และ 4) การเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และการสานต่องานราชการของสมเด็จพระนางเจ้าสุทธิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี บทรำเบิกโรงในโขนพระราชทานเป็นตัวแทนของศิลปวัฒนธรรมในขณะที่เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ เป็นตัวแทนของประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทยเปรียบเสมือนสมุดเล่มหนาที่ทำหน้าที่บันทึกประวัติศาสตร์เอาไว้ ดังนั้น การทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างศิลปวัฒนธรรมไทยกับประวัติศาสตร์
จึงทำให้เห็นคุณค่าของความเป็นชาตินับแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบันได้อย่างชัดเจน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

นพวรรณ เมืองแก้ว, Prince of Songkla Universit, Surat Thani Campus

Thailand Citation Index Centre

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). พระราโชวาทและพระราชดำรัสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

Department of Religious Affairs, Ministry of Culture. (2014). Official Speeches and royal speech given by Her Majesty Queen Sirikit. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand Limited Printing House. (in Thai).

กรมศิลปากร. (2558). จดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 8 พรรษา 12 สิงหาคม 2555. กรุงเทพฯ: บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด.

Fine Arts Department. (2015). Archives in honor of Her Majesty Queen Sirikit on the auspicious occasion HM The Queen’s 80th Birthday, 12 August 2012. Bangkok: Rungsilp Printing (1977) Co. Ltd. (in Thai).

กระทรวงวัฒนธรรม. (2558). โขนพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ. กรุงเทพฯ: บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด.

Ministry of Culture. (2015). The Royal Khon Performance, in honor of Her Majesty Queen Sirikit. Bangkok: Rungsilp Printing (1997) Co. Ltd. (in Thai).

ไทยรัฐฉบับพิมพ์. (2562). โปรดฯสถาปนา "ร.9 มหาราช" พระบรมราชชนนีพันปีหลวง, สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2563, จาก https://www.thairath.co.th/news/royal/1561091

Thairath Print Edition. (2019). The establishment of “King Rama IX, the great king” and Her Majesty Queen Sirikit, the queen mother. Retrieved June 1, 2020, from https://www.thairath.co.th/news/royal/1561091

ธนิต อยู่โพธิ์. (2508). เอกสารประกอบการสัมมนาและสาธิตนาฏศิลป์ไทย (2) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดร่วมกับวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

Yoopho, T. (1965). Seminar documents and Thai dance demonstration in honour of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Thai Khadi Research Institute, Thammasat University organized in collaboration with the College of Dramatic Arts. 6th ed. Bangkok: n.d. (in Thai).

ธีรภัทร์ ทองนิ่ม, ผุสดี หลิมสกุล และ ไพโรจน์ ทองคำสุก. (2556). การพากย์และเจรจาที่ใช้ในการแสดงโขน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 15(1), 1-14.

Thongnim, T., Limskul, P., & Thongkumsuk, P. (2013). Narration and dialog used in Khon performances. Institute of Culture and Arts Journal, 15(1), 1-14. (in Thai).

ธีรารัตน์ ทันห่วง และ ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์. (2561). กระบวนการสื่อสารทางการเมืองของ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.). วารสารการสื่อสารมวลชน, 6(1), 40-41.

Thanhuang, T., & Sripraphan, K. (2018). Political Communication Process of People’s Democratic Reform Committee (PDRC) Between A.D. 2013-2014. Journal of Mass Communication. 6(1), 40-41. (in Thai).

ณัฐพงษ์ นุชนนทรีย์, ชนัย วรรณะลี และ นิวัฒน์ สุขประเสริฐ. (2557). คนพากย์-เจรจา: ผู้อยู่เบื้องหลังการแสดงโขน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 15(2), 69-78.

Nutnonsi, N., Wannalee, C., & Sukprasirt, N. (2014). Narrator: The unsung hero of Khon performance. Institute of Culture and Arts Journal, 15(2), 69-78. (in Thai).

บีบีซี นาวิเกชัน. (2563). วันเฉลิมฯ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาฯ : 42 พรรษา องค์ราชินีคู่พระบารมีรัชกาลที่ 10, สืบค้นเมื่อ10 มิถุนายน 2563, จาก https://www.bbc.com/ thai/thailand-52901208

BBC Navigation. (2020). Queen Sutida Birthday: 42nd birthday Anniversary of the queen of King Rama X. Retrieved June 10, 2020, from https://www.bbc. com/thai/thailand-52901208

พิชัย สุขวุ่น. (2551). การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นกับวิถีชีวิตชุมชน กรณีศึกษาชุมชนวัดเวียง ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 4(2), 105-129.

Sukwun, P. (2008). A Change of Relationship between Cultural Arts and a Community’s Way of Life: A Case Study of Wat Wieng Community, Tambon Wieng, Amphoe Chaiya, Surat Thani. Journal of Humanities and Social Sciences Surat Thani Rajabhat University, 4(2), 105-129. (in Thai).

มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ. (2548). มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.

The Foundation for the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques. (2005). The Foundation for the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques of Her Majesty Queen Sirikit of Thailand. 2nd ed. Bangkok: Darn Sutha Press Co. Ltd. (in Thai).

โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา. (2558). กิ่งไม้เงินทอง, สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2563, จาก http://patdramaa 111.srp.ac.th/ra-chuychay-king-mi-ngein-thxng.

Suratpittaya School. (2015). Gold and Silver Branches. Retrieved May 17, 2020, from http://patdramaa111.srp.ac.th/ra-chuychay-king-mi-ngein-thxng.

เวิร์คพอยท์นิวส์. (2561). “ยูเนสโก” ขึ้นทะเบียน “โขนไทย” ครั้งแรกในประวัติศาสตร์, สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563, จาก

https://workpointnews.com/2018/11/29/ยูเนสโก-ขึ้นทะเบียน-โขน/.

Workpoint News. (2018). “UNESCO” registered “Khon performance” for the first time in history. Retrieved April 23, 2020, from https://workpointnews.com/2018/11/29/ยูเนสโก-ขึ้นทะเบียน-โขน/

สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์. (2562). การสัมมนาวิชาการเพื่อเตรียมการจัดงานสัปดาห์ห้องสมุดทั่วประเทศ ครั้งที่ 43 พุทธศักราช 2562 เรื่องพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

Thai Library Association under the Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. (2019). Academic Seminar for Preparation Organized the 43rd National Library Week Event 2019, titled “The Coronation Ceremony 2019”. Bangkok: n.p. (in Thai).

สุภาวดี โพธิเวชกุล. (2548). รูปแบบการแสดงเบิกโรงละครราในยุครัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

Phothiwachakul, S. (2005). Prototype of Opening Dance Performance for the Thai Dance Drama in the Rattanakosin Era (King Rama IX Reign). Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. (in Thai).

อธิปัตย์ นิตย์นรา, พิชัย แก้วบุตร, นพวรรณ เมืองแก้ว และ ชวาลิน เพ่งบุญ. (2563). การวิเคราะห์บทพากย์-เจรจาแบบกวนมุขในโขนพระราชทาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 11(2), 64-77.

Nitnara, A., Kaewbut, P. Muangkaew, N., & Pengbun, C. (2020). An Analysis of Kuanmuk Narrative and dialogue in the Royal Khon Performance. Journal of Humanities and Social Sciences Ubon Ratchathani Rajabhat University, 11(2), 64-77. (in Thai).