การกลั่นแกล้งและความรุนแรงในวรรณคดีไทยเฉพาะเรื่อง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งนำเสนอภาพการกลั่นแกล้งในสังคมที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทยหลากหลายรูปแบบ ไม่ใช่แค่การแสดงกิริยา หากยังรวมไปถึงคำพูดที่แสดงถึงการล้อเลียน เสียดสี เหยียดหยาม และการทำร้ายร่างกายที่รุนแรง โดยศึกษาตามทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการกลั่นแกล้งผ่านวรรณคดีไทยที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และเลือกเฉพาะเรื่องที่ตัวละครเอกถูกบุคคลอื่นกลั่นแกล้ง (Bully) ชัดเจน นั่นคือ เจ้าเงาะจากบทละครนอกเรื่องสังข์ทอง แม่มณีจากบทละครเรื่องแก้วหน้าม้า และนางเอื้อยจากวรรณกรรมวัดเกาะเรื่องปลาบู่ทอง ทั้งมูลเหตุของการกลั่นแกล้งยังมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องมาจากลักษณะบางประการของตัวละครเอกเอง เช่น อากัปกิริยา ฐานะ หรือข้อบกพร่องบางประการทางร่างกาย ซึ่งตัวละครทั้ง 3 ตัวต่างเลือกวิธีรับมือการถูกกลั่นแกล้งที่แตกต่างกัน หากทุกวิธีล้วนมีผลทำให้ตัวละครเหล่านี้ สามารถกลับมาดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างปกติสุข
Article Details
References
กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ. (2560). เจ็บแค้นเคืองโกรธโทษฉันไย…ทำไมจึงต้องแกล้งกัน. สืบค้น เมื่อ 13 มีนาคม 2563, จาก https://waymagazine.org/classroom_10/
Roongruangkiet, K. (2017). Be angry, angry, angry, blame me. Retrieved March 13, 2020, from https://waymagazine.org/classroom_10/
เจษฎา รอดน้อย. (2562). การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน: ผลกระทบและวิธีรับมือ. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(2), 264-273.
Rodnoi, J. (2019). Bullying at Work: Impacts and Countermeasures. Hatyai AcademicJournal, 17(2), 264-273.
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2548). แก้วหน้าม้า: ความหมายของหน้าม้าและนางเอกแบบใหม่. ใน วรรณวิจัยรวมบทความวิจัยวรรณคดีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นบางเรื่อง. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ruangraklikhit, C. (2005). Kaew na ma: The meaning of the na ma and the new heroine. In the research literature included some research articles on Ayutthaya and Rattanakosin literature. Bangkok: Academic Dissemination Project, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. (2559). บทละครนอก. กรุงเทพฯ: นครสาส์น มูลนิธิยุวพัฒน์.
King Phra Phuttha Lertla Napalai. (2016). Lakorn Nok. Bangkok: Nakornsasan Yuwapat Foundation.
มูลนิธิยุวพัฒน์. (2019). การกลั่นแกล้ง (Bullying) ความรุนแรงในสังคม. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2563 จาก https://www.yuvabadhanafoundation.org/th.
Yuvabadhana foundation. (2019). Bullying, social violence. Retrieved March 11, 2020, from https://www.yuvabadhanafoundation.org/th.
วชิรญาณ. (ม.ป.ป.). บทละครนอกเรื่องแก้วหน้าม้า. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2563 จากhttps://vajirayana.org
Wachirayan. (n.d.). Lakorn Nok: Kaew na ma. Retrieved July 7, 2020, from https://vajirayana.org
วิเชียร เกษประทุม. (2561). เล่าเรื่อง ปลาบู่ทอง. กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา.
KetPratum, W. (2018). Pla Boo Thong. Bangkok: P.S. Development.
ศิริไชย หงส์สงวนศรี และ นงพะงา ลิ้มสุวรรณ. (2552). Aggression and violence in adolescents. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.rcpsycht.org/ cap/detail_articledr.php? news_id=52.
Hongsanguansri, S., & Limsuwan, N. (2009). Aggression and violence in adolescents. Retrieved July 29, 2020, from http://www.rcpsycht.org/cap/detail_ articledr.php? news_id=52.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. (2559). วรรณกรรมวัดเกาะ-ปลาบู่ทอง. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2563, จาก https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=242955959726 5927& id=169768017378721
Sirindhorn Anthropology Center. (2016). Literature of Wat Ko - Pla Boo Thong. Retrieved July 29, 2020, from https://m.facebook.com/story.php?story _ fbid=2429559597265927&id=169768017378721
สกล วรเจริญศรี. (2559). การข่มเหงรังแก. สารานุกรมคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ, 51, 13-20.
Woracharoensri, S. (2016). Persecution. Encyclopedia of Faculty of Education Srinakharinwirot University, 51, 13-20.
Skillyouneed. (2018). Copying with Bullying. Retrieved 21 July 2020, from https://www.skillsyouneed.com/parent/coping-with-bullying.html
The Standard. (2018). ผลวิจัย ยูเนสโกชี้ 1 ใน 3 เด็กในโลกถูกบูลลี่. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 2563, จาก https://thestandard.co/one-third-of-teens-worldwide-suffers-bullying-unesco/
The Standard. (2018). UNESCO research suggests 1 in 3 children in the world is bullied. Retrieved 20 July 2020, from https://thestandard.co/one-third-of-teens-worldwide-suffers-bullying-unesco/