การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนผ่านแอปพลิเคชันสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสร้างเเรงจูงใจในการเรียนรู้

Main Article Content

ยุพดี หวลอารมณ์
จิดาภา อมรางกูร
วัชราภรณ์ เจริญสะอาด

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและแสดงให้เห็นถึงข้อดีและข้อจำกัดของการเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศผ่านแอปพลิเคชันบันเทิง เช่น Facebook, YouTube และ Tiktok รวมทั้งศึกษาถึงแนวโน้มของการเรียนการสอนภาษาจีนผ่านช่องทางออนไลน์ในปัจจุบัน โดยพบว่า การเรียนรู้ภาษาจีนผ่านแอปพลิเคชันบันเทิงเป็นที่นิยมและมีแนวโน้มที่จะพัฒนาการเรียนการสอนจากแพลตฟอร์มออนไลน์ดังกล่าวต่อได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีรูปแบบการเผยแพร่ การใช้งานที่หลากหลาย สามารถตอบสนองผู้เรียนและผู้สอนโดยสามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้สามารถสร้างแรงจูงใจทางบวกให้กับผู้เรียนและเหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชีวิตในปัจจุบัน สามารถแก้ไขข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ ซึ่งผู้เรียนสามารถค้นหาเรียนรู้ในเรื่องที่สนใจได้ง่ายสะดวกมากยิ่งขึ้น


ทั้งนี้พบว่าการสอน การสื่อสาร การนำเสนอสื่อบนสื่อสังคมออนไลน์ควรพึงระวังเรื่องลิขสิทธิ์ในเนื้อหาที่นำมาจัดทำสื่อการสอน เพื่อหลีกเลี่ยงการละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ผู้สอนหรือผู้จัดทำสื่อจึงควรที่จะตรวจสอบและมีการอ้างอิงถึงเจ้าของข้อมูลที่นำมาอ้างอิงในผลงานของตน

Article Details

บท
บทความวิชาการและบทความปริทัศน์

References

กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์. (2554). ผลงานทางวิชาการ. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2563, จาก http://teacherkobwit2010.wordpress.com/

Phiriyapat, K. (2011). Academic work. Retrieved July 10, 2020, from http://teacherkobwit2010. wordpress.com/

จิรารัตน์ ประยูรวงษ์. (2562). การเรียนรู้ภาษาอังกฤษบนโลกดิจิทัลในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 13(1), 210-223.

Prayoonwong, C. (2019). Digital learning: learning English in the digital world of the 21stcentury. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkron Rajabhat University, 13(1), 210-223.

นฤมล บุญส่ง. (2561). สื่อสังคมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(1), 2873-2885.

Bunsong, N. (2018). Social media of enhance 21st century fducation. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(1), 2873-2885.

ปัณฑิตา อินทรักษา. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(4). 357-364.

Intharaksa, P. (2019). Learning management with Social Media. Journal of Education Naresuan University, 21(4). 357-364.

ภาสกร เรืองรอง, ประหยัด จิระวรพงศ, วณิชชา แม่นยำ, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช และ ชไมพร ศรีสุราช. (2556). โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2563, จาก https://hooahz.files.wordpress.com

Ruengrong, P., Jiravarapong, B., Manyum, W., Somyaron, W., Muendet, S., & Srisurat, C. (2013). Social media in Thailand education. Retrieved June 25, 2020, from https://hooahz.files.wordpress.com

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). สื่อสังคม-เครือข่ายสังคม. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2563, จาก http://www.royin.go.th/ th/knowledge/detail.php?ID=4357

The Royal Institute. (2011). Social Media-Social Network. Retrieved June 25, 2020, from http://www.royin. go.th/th/knowledge/detail.php?ID=4357

วัชรพงษ์ หวันสมาน. (2558). ผลของการใช้เฟสบุ้กเป็นสื่อกลางในการสอนอ่านภาษาอังกฤษเฉพาะทางให้กับผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาในระดับพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2563, จาก https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/10524/1/400851.pdf

Wansaman, W. (2015). Effects of using facebook as a medium for teaching esp reading for beginners. The degree of Master of Arts in teaching of English as an International language Prince of Songkla University. Retrieved July 10, 2020, from https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/ 2016/10524/1/400851.pdf

สุพรรษา น้อยนคร. (2562). การจัดการเรียนรู้บบโครงการบูรณาการกับโซเชียลมีเดียเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยีของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 26(3), 25-38.

Noinakorn, S. (2019). Project-Based Learning with Social Media to promote Information and Technology Skills of learner in the 21st century. Humanity and Social Science Journal, 26(3), 25-38.

สมหวัง หยกขาว. (2562). การพัฒนาทักษะทางภาษาจีนจากประโยชน์ของการใช้ Facebook ในกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 8(2), 157-171.

Somwang, Y. (2019). The development of Chinese skill form Facebook usage among Chinese student groups in Udon Thani Rajabhat University. Udon Thani Rajabhat University Journal of Humanities and Social Sciences, 8(2), 157-171.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2554). สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2563, จาก https://krusirinapa.files.wordpress.com

Pahe, S. (2011). Social media for education. Retrieved July 10, 2020, from https://krusirinapa.files.wordpress.com

edutech14. (2557). การประยุกต์ใช้ Social network และ social Media สำหรับการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2563, จาก http://edutech14.blogspot.com/ 2014/05/social-network-social-media.html

edutech14. (2014). แอปพลิเคชัน of social network and social media for education. Retrieved June 25, 2020, from http://edutech14.blogspot.com/ 2014/05/social-network-social-media.html