ปัจจัยด้านความฉลาดทางสุขภาพที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพร ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลห้วยเกิ้ง จังหวัดอุดรธานี

Main Article Content

ศักดิ์ชาย ขัติยา
สุริยา ฟองเกิด
พัทธนินทร์ สันตยากร

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านความฉลาดทางสุขภาพที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการในโรงพยาบาลห้วยเกิ้ง จำนวน 132 คน ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายจากรายชื่อผู้ป่วยเรื้อรัง เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) แบบสอบถามความฉลาดทางสุขภาพ และ 2) แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 และ 0.96 ตามลำดับ ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพร (gif.latex?\hat{\beta}_{3}=0.600) การเข้าถึงสมุนไพร (gif.latex?\hat{\beta}_{1}=0.225) และทักษะการตัดสินใจในการเลือกใช้สมุนไพร (gif.latex?\hat{\beta}_{5}=0.154) ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ร้อยละ 89.50 (R2=0.895, Adjusted R2=0.893, p=0.009) 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข, กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. (2559). แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ.2560-2564. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

Ministry of Public Health, Department of Thai Traditional and Alternative Medicine. (2016). The 1st National Master Plan on Thai Herb Development 2017-2021. Nonthaburi: Ministry of Public Health. (In Thai).

กรมควบคุมโรค, สำนักโรคไม่ติดต่อ, กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2560). แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

Department of Disease Control, Bureau of Non-communicable Diseases Office, Strategy and Planning Group. (2017). 5-year National NCDs Prevention and Control Strategic Plan (2017 - 2021). Nonthaburi: Ministry of Public Health. (In Thai).

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Wanichbancha, K. (2006). Statistics for research work. 2nd edition. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).

ชนิดา มัททวางกูร ขวัญเรือน ก๋าวิตู สุธิดา ดีหนู และ สิริณัฐ สินวรรณกุล. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของประชาชนในเขตภาษีเจริญ. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(39), 99-109.

Mattavangkul, C., Kawitu, K., Deenoo, S., & Sinwannakool, S. (2019). Factor Related to Herbal Use Behavior for Self-care among People in Phasi-Chareon District. Journal of Nursing Siam University, 20(39), 99-109. (In Thai).

ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ ตั้ม บุญรอด และ วิชชาดา สิมลา. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 7(2), 25-37.

Chaimail, P., Boonrod, T., & Simla, W. (2012). Factors affecting the use of herbs in primary health care. Journal of Public Health Burapha University, 7(2), 25-37. (In Thai).

ภิษณี วิจันทึก. (2562). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของประชาชนบ้านหนองบัวศาลา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 28(2), 244-254.

Wichantuek, P. (2019). Knowledge, attitude and behavior of using herbal products of people at Ban Nong Bua Sala, Muang District, Nakhon Ratchasima Province. Journal of Health Science, 28(2), 244-254. (In Thai).

ภัทรพล จึงสมเจตไพศาล. (2562). การพัฒนาต้นแบบการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในครัวเรือน (Med Kit) ในประเทศไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 28(6), 1092-1103.

Jungsomjatepaisal, P. (2019). Development of a Prototype for Promoting the Use of Herbal Medicine in Households in Thailand. Journal of Health Science, 28(6), 1092-1103. (In Thai).

มาลัย กมลสกุลชัย. (2559). บทบาทและความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่มีต่อสมุนไพรไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

Kamolsakulchai, M. (2016). Role and Confidence of Consumers towards Thai Herbs. Bangkok: Rajamangala University of Technology Rattanagosin. (In Thai).

โรงพยาบาลห้วยเกิ้ง. (2563). รายงานประจำปี 2562. อุดรธานี: โรงพยาบาลห้วยเกิ้ง.

Huai Koeng Hospital. (2020). Annual report 2019. Udon Thani: Huai Koeng Hospital. (In Thai).

โรงพยาบาลห้วยเกิ้ง, กลุ่มงานเวชระเบียน. (2563). สถิติผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. อุดรธานี: โรงพยาบาลห้วยเกิ้ง.

Huai Koeng Hospital, Medical records department. (2020). Statistics of chronic NCDs patients. Udon Thani: Huai Koeng Hospital. (In Thai).

วรรณรัตน์ รัตนวรางค์ และ วิทยา จันทร์ทา. (2559). ความฉลาดทางสุขภาพด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองกับการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดชัยนาท. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 24(2), 36-40.

Rattanavarang, W., & Chantha, W. (2016). Health Literacy on Self-Care Behavior and Blood Sugar Control of Patients with Type 2 Diabetes, Chainat Province. Journal of Boromarajonani College of Nursing Nakhon Ratchasima, 24(2), 36-40. (In Thai).

ศักดิ์ชาย ขัติยา. (2560). พฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลห้วยเกิ้งและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยเกิ้ง. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข, กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.

Khattiya, S. (2017). Behavior of Herbal Medicine to Reducing Blood Sugar Level in Patients with Type 2 Diabetes, Huai Koeng Hospital and Huai Koeng Subdistrict Health Promoting Hospital. Nonthaburi: Ministry of Public Health, Department of Thai Traditional and Alternative Medicine. (In Thai).

สุรศักดิ์ เสาแก้ว ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์ และ ศศิพงค์ ทิพย์รัชดาพร. (2563). การสังเคราะห์ข้อเสนอในการกำหนดนโยบายการใช้ยาสมุนไพรในระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกัน. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, คณะเภสัชศาสตร์.

Saokaew, S., Buddharak, P., & Thipratchadaporn, S. (2020). A synthesis of a proposal to formulate a policy on the use of herbal drugs in the health care system and the insurance system. Phayao: Phayao University, Faculty of Pharmacy. (In Thai).

Daniel, W.W. (1995). Biostatistic: A foundations for analysis in the health sciences. New York: John Wiley.

Krejcie R.V., & Morgan D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.

Nutbeam, D. (2000). Health Literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communication strategies into health 21st century. Health Promotion International, 15(3), 259-267.