การตัดสินใจสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

จิตรกร จันทร์สุข

บทคัดย่อ

การตัดสินใจสำหรับผู้บริหารสถานศึกษามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในกับสถานการณ์ในปัจจุบัน เนื่องจากการตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกระบวนการหนึ่งที่สำคัญในการบริหารสถานศึกษาให้เป็นไปตามทิศทางที่ได้กำหนด หรือเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่ได้ตั้งไว้ ซึ่งขั้นตอนในการตัดสินใจจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาที่จำเป็นต้องรู้แนวทาง หลักการ ทฤษฎีการตัดสินใจ เพื่อนำไปปรับใช้ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่พบเจอในการบริหารสถานศึกษาของตัวเอง โดยขั้นตอนการตัดสินใจ มีดังนี้ 1) นิยามปัญหา 2) ขยายตัวเลือก 3) ประเมินตัวเลือก 4) เลือกตัวเลือก 5) ตัดสินใจ และ 6) ประเมินการตัดสินใจ โดยทุกขั้นตอนมีการย้อนกลับไปยังขั้นตอนเดิมได้ นอกจากนี้ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถนำรูปแบบการตัดสินใจไปปรับใช้ในแต่ละสถานการณ์ในการบริหารงานในสถานศึกษาของตัวเอง ดังนี้ 1) รูปแบบการตัดสินใจแบบมี 2) รูปแบบการตัดสินใจทางการบริหาร 3) รูปแบบการตัดสินใจแบบค่อยเป็นค่อยไป 4) รูปแบบการตัดสินใจแบบผสมผสาน และ 5) รูปแบบการตัดสินใจแบบถังขยะ ดังนั้นการตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสิ่งที่สำคัญในการบริหารจัดการองค์การ เนื่องจากเป็นหน้าที่หลักที่ต้องรับผิดชอบ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการตัดสินใจ เพื่อนำไปปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขปัญหาในองค์การ และผลของการตัดสินใจทำให้เกิดความพึงพอใจและเป็นที่ยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา

Article Details

บท
บทความวิชาการและบทความปริทัศน์

References

จุฑา เทียนไทย. (2547). การจัดการมุมมองนักบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2547). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
เซ็นทรัลเอ็กซ์เพรส.
บรรยงค์ โตจินดา. (2546). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์.
เทพ สงวนกิตติพันธุ์. (2545). ทักษะชีวิต Life Skills: เพื่อความสุขและความสำเร็จของชีวิต.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธร สุนทรายุทธ. (2550). การบริหารจัดการความเสี่ยงทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
________. (2551). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูป. กรุงเทพฯ: กราฟฟิค แอนด์ ปริ้นติ้ง.
ภีมณปภัค สุพรชัยภักดี. (2561). การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนบางน้ำจืด สังกัดเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มัลลิกา ต้นสอน. (2546). พฤติกรรมองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.
วิเชียร วิทยอุดม. (2554). การจัดการสมัยใหม่ Modern Management. กรุงเทพฯ: บริษัทธนธัช
การพิมพ์ จำกัด.
วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2546). ทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติสำหรับยอดหัวหน้างาน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด
ยูเคชั่น จำกัด.
ศิริพงษ์ เศาภายน. (2547). หลักการบริหารการศึกษา: ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
บุ๊คพอยท์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
สมคิด บางโม. (2548). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
โสภณ พวงสุวรรณ. (2545). ความฉลาดทางอารมณ์กับผู้นำ. วารสารบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, (1)22-227.
อดุลย์ วังศรีคูณ. (2557). การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21: ผลผลิตและแนวทางการพัฒนา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 8(1),
1-17.
A.G. Schneiders. (1998). "Exercise Therapy Compliance in Low Back Pain Patients,"
Manual Therapy.
Bernard, Chester I. (1972). The functions of executive. Massachusetts: Harvard
University Press.
Cohen, W.A. (1990). The art of the leadership. New Jersey: Prentice-Hall.
Etzioni, A. (1968). Model Organization. New Jersey: Prentice-Hall.
David I. Cleland and William Richard King. (1975). Systems Analysis and Project
Management. New York: McGraw-Hill.
Gene Burnab and Manab Thakur. (2016). Management Today: Principles and
Practice Ninth Reprint. New Delhi: Tata McGraw-Hill.
Herbert Simon. (1966). Administrative Behavior: A Study of Decision Making
Process in Administrative Organization. Toronto: The Free Press.
__________. (1997). The New Science of Management Decision. New York:
Harper & Row.
Hoy K. and Cecil Wayne, Miskel G. (1991). Educational Administration. Singapore:
McGraw Hill Internation Editions.
__________. (2008). Educational Administration (Singapore: McGraw Hill
International Editions.
John Dewey. (1933). How We Think. Boston: D.C. Health.
Lindblom, C.E. (1959). “The Science of Muddling Through,” Public Administrative
Review. 19.
Lunenburg, F. C., & Ornstein, A. O. (2012). Educational administration. CA: Cengage
Wadsworth.
Massie, J.L. and Douglas, J. (1981). Management: A Contemporary Introduction.
3rd ed. New Jersey: Prentice-Hall.
NASSP. (2013). Breaking ranks: 10 skills for successful school leaders. Retrieved May
5, 2021, from http://www.nassp.org/Content/158/BR_tenskills_ExSum.pdf.
Paul Moody. (1995). Decision Making: Provan Methods for Better Decision.
Singapore: McGraw-Hill Book Company.
Roger A. Kaufman. (1974). “Systems Approachas to Education: Discussion and
Attempted Integration.” James M. Liphan and James A. Hoeh eds.,
in The Principalship: Foundations and Functions. New York: Harper & Row.