IKIRU (To Live) สารัตถะแห่งการมีชีวิตอยู่

ผู้แต่ง

  • ธาตรี ใต้ฟ้าพูล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ภาพยนตร์, ภาพยนตร์ญี่ปุ่น, สัญญะ

บทคัดย่อ

                  บทความวิชาการชิ้นนี้ ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายที่จะวิเคราะห์วาทศิลป์ อันมาจากภาพยนตร์ของผู้กำกับในตำนานชาวอาทิตย์อุทัย Akira Kurosawa ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็น “จักรพรรดิแห่งภาพยนตร์ญี่ปุ่น” โดยหยิบยกเอาภาพยนตร์เรื่อง IKIRU หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า To LIVE มาเป็นวัตถุดิบในการวิเคราะห์ ทั้งนี้ ผู้เขียนเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์วาทศิลป์โดยอิงหลักรวมทฤษฎี (eclectic) และประยุกต์เข้ากับการวิเคราะห์อุดมการณ์ (ideological analysis) อีกด้วย โดยบทความนี้จะวิเคราะห์ชุดอุดมการณ์สังคมนิยมแนวมาร์กซิสม์ (Marxism) มาเป็นแกนหลักร่วมกับเทคนิคการวิเคราะห์สัญญะ เพื่อทำความเข้าใจเนื้อหาวาทศิลป์ว่า ผู้กำกับภาพยนตร์ต้องการนำเสนอแก่นประเด็นอะไรในวาทศิลป์ดังกล่าว

References

อรยา เอี่ยมชื่น (2536), การวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหางานโฆษณาทางสื่อโทรทัศน์ พ.ศ. 2533-2534, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Hart, R. (1996), Modern Rhetorical Criticism, Massachusetts: Simon & Schuster.Smart, B. (1992), Modern Conditions, Postmodern Controversies, New York: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-11-2018