หนังอาเซียน: การเปิดเผยถึงอำนาจและ การต่อสู้ของมนุษย์
คำสำคัญ:
หนังอาเซียน, อำนาจ, การต่อสู้บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้วิเคราะห์ภาพยนตร์สารคดี ภาพยนตร์สั้น และภาพยนตร์ ทดลองอาเซียนจำนวน 10 เรื่องที่ฉายในเทศกาล SAC ASEAN Film Festival 2019 ระหว่างวันที่ 21-23 มิถุนายน 2562
ผลการวิเคราะห์เผยให้เห็นว่า ภาพยนตร์อาเซียนนำเสนอประเด็นปัญหา ของอาเซียนอย่างน้อยสี่ด้าน คือ ระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม คนพลัดถิ่นและ ไร้ดินแดน ปัญหาของพื้นที่ จากอำนาจของรัฐและเศรษฐกิจ และปัญหาความ ตายและการฉุดรั้งความตาย ซึ่งนั่นอาจเป็นข้อวิตกกังวลของภูมิภาคอาเซียน ในช่วงเวลานี้ ในเวลาเดียวกัน ภาพยนตร์ก็พยายามนำเสนอให้เห็นถึงความ พยายามต่อสู้และท้าทายปัญหาดังกล่าวด้วยวิถีทางของตน ตอกย้ำการไม่ยอม แพ้ของมนุษย์ นอกจากนั้น การศึกษาภาพยนตร์อาเซียนทั้งหมดนี้ ยังเผย ให้เห็นการต่อสู้ของศิลปินอาเซียนที่เล่าเรื่องราวของอาเซียนด้วยมุมมองและ ศิลปะของชาวอาเซียนเอง
References
กาญจนา แก้วเทพ (2557), ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน (2560), สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา, กรุงเทพฯ: อินทนิล.
กำจร หลุยยะพงศ์ (2547), หนังอุษาคเนย์, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
________. (2556), ภาพยนตร์กับการประกอบสร้างสังคม, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (2562), สูติบัตรเทศกาลภาพยนตร์ SAC ASEAN Film Festival 2019, จัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ณ โรงภาพยนตร์ เอส เอฟ เวิลด์ ซีเนม่า ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ระหว่างวันที่ 21-23 มิถุนายน 2562.
สมสุข หินวิมาน (2557), “ทฤษฎีการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์”, ใน ประมวลสาระชุดวิชา ปรัชญา นิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุรเดช โชติอุดมพันธ์ (2560), “สัตว์ศึกษา: สู่โลกหลังภาพแทน”, ใน สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ (บ.ก.), สิงสาราสัตว์, กรุงเทพฯ: คบไฟ.
Hanan, D. (2001), Film in South East Asia, Hanoi: SEPAVAA.
Lim, D. and Yamamoto, H. (2012), Film in Contemporary Southeast Asia, London: Routledge.