ดินแดนของการโกหก: มีทั้งหลุมเล็กๆ และส่วนที่ลาดลึก

ผู้แต่ง

  • นฤมล ปิ่นโต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

การโกหก, ความเชื่อ, ข่าวลวง

บทคัดย่อ

                บทความนี้มุ่งศึกษาว่ามนุษย์มีความรู้ ความเชื่อ และท่าทีต่อการโกหก อย่างไร ทั้งในมุมมองทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และ ในโลกความเป็นจริง พฤติกรรมการโกหกของมนุษย์สอดคล้องกับความรู้ ความ เชื่อ และมุมมองเหล่านั้นหรือไม่ เพราะอะไร จากการทบทวนแนวคิดและงาน วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการโกหก พบว่า มนุษย์ให้คุณค่า “เชิงลบ” กับการโกหกมา โดยตลอด และมีบทลงโทษทางศาสนา และกฎหมายอย่างชัดเจน ขณะที่ นักจิตวิทยาพบว่า การโกหกส่งผลเสียต่อสุขภาพ การโกหกเพียงเล็กน้อยนำไปสู่ การโกหกที่ใหญ่ขึ้นจนส่งผลกระทบที่ร้ายแรงได้ ผู้ที่โกหกมีทั้งโกหกเป็นครั้งคราว เป็นนิสัย โกหกแบบหลีกหนีความจริง และแบบหลอกลวง ต้มตุ๋น โดยมีแรง จูงใจต่างกันไป ขณะเดียวกัน มีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงให้เห็นว่า คนส่วนใหญ่ ยังคงโกหกกันเป็นประจำ โดยนักวิชาการอธิบายว่า การโกหกเป็นความจำเป็นที่ ทำให้สังคมมนุษย์ดำรงอยู่ต่อไปได้ ขอบเขตของการโกหกที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ จึงหมายถึงการโกหกที่สร้างความเสียหายไม่มาก ได้แก่ การโกหกเพื่อช่วยเหลือ ผู้อื่นและเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีในสังคม ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพิจารณา ของศาสนาและกฎหมาย ในทัศนะของผู้เขียน การโกหกที่สร้างขึ้นเป็นดินแดน ใหญ่น้อยตามแรงจูงใจของแต่ละคนนั้น ล้วนมีความเสี่ยง มีทั้ง “หลุมเล็กๆ” ที่ จำเป็นต่อการดำรงอยู่ทางสังคมซึ่งควบคุมได้ยาก และส่วนที่ “ลาดลึก” ซึ่งมีผล เสียร้ายแรง และควรมีการควบคุมอย่างเข้มงวด การโกหกแต่ละครั้งจึงจำเป็น ต้องมีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี

References

คูณ โทขันธ์ (2537), ศาสนาเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ฉัตรดนัย ศรชัย และคณะ (2556), อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดี บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร การเห็นคุณค่าในตนเอง และความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคมต่อการยอมรับ การโกหกและความเป็นไปได้ในการโกหก, ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาคร รุจิระชาคร และพุทธชาติ คงลายทอง (2550), นิทานอิสปเด็กเลี้ยงแกะ, กรุงเทพฯ: ปั้นฝัน.

เติมศักดิ์ คทวณิช (2546), จิตวิทยาทั่วไป, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ (2562), ประมวลกฎหมายอาญาฉบับอ้างอิง, กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

รัตนาภรณ์ ปัตลา (2557), การทำนายความเป็นไปได้ในการโกหกและการยอมรับการโกหกด้วยตัวแปรบุคลิกภาพ, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ร่มฉัตร (ผู้แปล) (2557), พิน็อคคิโอ, กรุงเทพฯ: แอร์โรว์ คลาสสิกบุ๊คส์.

วนิดา ขำเขียว (2543), ศาสนาเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ: พรานนกการพิมพ์.

สมชาย พงษ์พัฒนาศิลป์ (2563), ประมวลกฎหมายอาญา, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วรเมธ ธนาภากรรัตนกุล.

สุจิตรา รณรื่น (2538), ศาสนาเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

Darika (2561), “ขั้นตอนง่ายๆ ช่วยรักษาคนโกหก จากสมองป่วยและนิสัยส่วนตัว”, ชีวจิต, 485.

DePaulo, B. et al. (1996), “Lying in Everyday Life”, Journal of Personality and Social Psychology, 70(5): 979-95.

Garrett, N. et al. (2016), “The Brain Adapts to Dishonesty”, Nature Neuroscience, 19(12):1721-1732.

Kelly, E. (2012), “A Life without Lies: How Living Honestly Can Affect Health”, Proceedings of the Annual Meeting of the American Psychological Association’s 120th, United States of America, 4 August 2012.

Oliveira, C. and Levine, T. (2008), “Lie Acceptability: A Construct and Measure”, Communication Research Reports, 25(4): 282-288.

ตนุภัทร โลหะพงศธร (2562), “Pathological Lying: สร้างชีวิตใหม่ด้วยคำโกหก เพราะการยอมรับความจริงคือความเจ็บปวดยิ่งกว่า”, a daybullatin. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562, จาก https://adaybulletin.com/know-sideeffects-pathological-lying/29980

บุญโชค พานิชศิลป์ (2561), “ละครฉากสุดท้ายของฆาตกรต่อเนื่อง เท็ด บันดี”, The momentum, สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก https://themomentum.co/something-between-ted-bundy/

พิษณุ ผาสุกมโน (2561), “สาระน่ารู้ กฎหมายรอบตัว: การพูดโกหก กับการพูดคำว่า ตอแหลจะเหมือนกันมั้ย”, กรมสรรพากร, สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2562, จาก http://www.rd.go.th/region1/fileadmin/pdf/59-56.pdf

ยุธิจิต ภัตตาจาร์จิ (2560), “เคยชินกับการโกหกรึเปล่า? ส่องพฤติกรรม ‘พูดปด’ ของมนุษยชาติ”, National Geographic, สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2563, จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1018175

วินิทรา แก้วพิลา (2560), “โรคหลอกตัวเอง”, Rama Square, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=ZBBlEHhgZdc

วุฒิเลิศ แห่ล้อม (2560), “พระบัญญัติ 10 ประการ”, แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมล กรุงเทพ, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก http://www.kamsonbkk.com/catholic-catechism/10-commandments/2652-0071957

ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย (2560), “การกล่าวคำเท็จ”, พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับโจเซฟ สมิธ, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก https://www.churchofjesuschrist.org/study/scriptures/gs/lying?lang=tha

ศิลปวัฒนธรรม (2563), “ย้อนประวัติ อีสป ผู้แต่งนิทานโด่งดัง กับคติสอนใจ ทรราชย่อมหาเหตุแห่งการทรราชได้เสมอ”, ศิลปวัฒนธรรม, สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_34000

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (2562),“Fake News ลวงให้เชื่อ หลอกให้แชร์”,สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก https://www.etda.or.th/content/living-in-the-fake-news-era.html

สินธุเสน เขจรบุตร (2559), “จับโกหกอย่างผู้เชี่ยวชาญ”, กายใจ, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=dGQWWiOifDc

สุชีพ ปุญญานุภาพ (2547), “ยังพูดปดทั้งๆ ที่รู้ จะไม่ทำความชั่วอย่างอื่นเป็นไปไม่ได้”, พระไตรปิฎกฉบับประชาชน, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part1.1.html

Ansarian, H. (n.d.), “มนุษย์เรามีหน้าที่อะไรบ้าง”, Erfan.ir, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2563, จาก http://www.erfan.ir/thailand/81502.html

Barth, F. (2019), “Why Do We Believe Liars?”, NBC News, retrieved 15 January 2020,from https://www.nbcnews.com/think/opinion/why-do-we-believe-liars-ncna993816

Cooke, L. (2019), “Power of Deceit”, BBC radio4, retrieved 1 February 2020, from https://www.bbc.co.uk/programmes/p07k439v

Deedi (2544), “อกุศลกรรมบถ 10”, ประตูสู่ธรรม, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก http://www.dharma-gateway.com/dhamma/misc-sin_path_10_04.htm

Grethexis (2561), “Why Do People Believe in Lies So Easily?”, Grethexis, retrieved 20 January 2020, from http://www.grethexis.com/people-believe-lies-easily/

Heid, M. (n.d.), “Your Brain On: Lying”, retrieved 20 January 2020, from https://www.shape.com/lifestyle/mind-and-body/your-brain-lying

Kapook (2561), “เปิดคดี เจนนิเฟอร์ แพน จากเด็กเรียนดีผู้เป็นความหวัง สู่ฆาตกรผู้จ้างวานฆ่าพ่อแม่ตัวเอง”, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก https://hilight.kapook.com/view/124238

Liespotting (2010), “10 Research Findings about Deception that Will Blow Your Mind”,Liespotting, retrieved 16 January 2020, from https://liespotting.com/2010/06/10-research-findings-about-deception-that-will-blow-your-mind/

Moodymuay (2562), “10 สิ่งที่ทำให้เท็ด บันดี้ เป็นฆาตกรต่อเนื่องที่โลกไม่ลืม”. Crossboxs, สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก http://www.crossboxs.com/posts/ted-bundy-facts

MP-MUSLIM (2560), “มุสลิมสามารถโกหกได้หรือไม่”, Thaimuslim. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม2562, จาก https://www.thaimuslim.com

Pariona, A. (2018), “When You Lie, Your Brain Is Actually Suffering”, Lifehack, retrieved 14 January 2020, from https://www.lifehack.org/589959/how-harmful-lying-canbe-to-our-health.

Psychology CU (2560), “การโกหก-Lying”, วิทยาลัยชุมชน, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2563, จาก https://www.facebook.com/PsychologyChula/photos/a.897311197049961/1420179684763107/?type=1&theater

Schaarschmidt, T. (2018), “The Art of Lying”, Scientific American, retrieved 15 January2020, from https://www.scientificamerican.com/article/the-art-of-lying/

Soleil, V. (2018), “5 Types of Liars and How to Recognize and Deal with Each”, Learning Mind, retrieved 15 January 2020, from https://www.learning-mind.com/typesof-liars/

Workpoint News (2561), “ชีวิตสุดเหลือเชื่อของ แฟรงก์ อบาเนล อดีตนักต้มตุ๋น ผู้เคยเป็นใครก็ได้ที่เขาอยากเป็น”, Workpoint News,สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก https://workpointnews.com/2018/09/15/abagnale/

org (2559), “อกุศลกรรมบถ 10”, พระไตรปิฎกฉบับหลวง, สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.phpbook=12&item=484&items=1&preline=0&pagebreak=0&mode=bracket

Downloads

เผยแพร่แล้ว

14-09-2020