ศาสตร์การเล่าเรื่องในสื่อสารศึกษา

ผู้แต่ง

  • ขจิตขวัญ กิจวิสาละ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์นวัตกรรมและผู้ประกอบการธุรกิจ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คำสำคัญ:

การเล่าเรื่อง, ศาสตร์การเล่าเรื่อง, สัมพันธบท

บทคัดย่อ

                บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการแนวคิดของการ เล่าเรื่อง องค์ประกอบการเล่าเรื่องในงานสื่อสารศึกษา และพัฒนาการการศึกษา การเล่าเรื่องงานสื่อสารศึกษา โดยศึกษาจากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่า แนวคิดการเล่าเรื่องมีพัฒนาการนับตั้งแต่ยุคกรีกมาจนถึง ยุคหลังสมัยใหม่ แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาการเล่าเรื่องมีทั้งจากกลุ่มโครงสร้าง นิยมและกลุ่มหลังโครงสร้างนิยม การใช้แนวคิดการเล่าเรื่องในงานสื่อสารศึกษา น้ันจะทำการวิเคราะห์องค์ประกอบการเล่าเรื่อง ซึ่งประกอบด้วยมุมมองในการ เล่าเรื่อง ตัวละคร โครงเรื่อง แก่นเรื่อง ความขัดแย้ง เทคนิคภาพและเสียง และ ฉาก และพัฒนาการการศึกษาการเล่าเรื่องในงานสื่อสารศึกษาในสังคมไทย ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ (1) กลุ่มแรกเป็นการศึกษาที่มุ่งหา ไวยากรณ์ในการเล่าเรื่องประเภทต่างๆ (2) กลุ่มที่สองเป็นการศึกษาตัวบทการ เล่าเรื่องที่ตั้งคำถามเกี่ยวกับมิติอำนาจในการประกอบสร้างความหมาย อัตลักษณ์ ภาพตัวแทน หรืออุดมการณ์ต่างๆ และ (3) กลุ่มที่สามเป็นการศึกษาการ เล่าเรื่องที่ศึกษาทั้งตัวบทที่ตั้งคำถามเกี่ยวกับมิติอำนาจในการประกอบสร้าง ความหมาย อัตลักษณ์ ภาพตัวแทน หรืออุดมการณ์ต่างๆ และการถอดรหัส สารของผู้รับสาร

References

กาญจนา แก้วเทพ (2549), เอกสารการสอนชุดวิชา “การสร้างสารในงานนิเทศศาสตร์” หน่วยที่1-7, นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

________. (2553), แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

กำจร หลุยยะพงศ์ (2547), หนังอุษาคเนย์: การศึกษาภาพยนตร์แนววัฒนธรรมศึกษา, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เกศราพร ทองพุ่มพฤกษา (2562), แม่ เมียและสัตว์โลกแสนสวย นิยามแห่งความเป็นเพศหญิงในหนังสือนิทานภาพสำหรับเด็ก, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ขจิตขวัญ กิจวิสาละ (2553), ความหมายของการขัดขืนอำนาจของสังคมผ่านการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ไทยระหว่าง พ.ศ. 2513-2550, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โฆษิต ศรีกฤษณรัตน์ (2553), วิธีการเล่าเรื่องในเกมแบบสวมบทบาทของญี่ปุ่นและการมีส่วนร่วมของผู้เล่น, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิธิวดี วิไลลอย (2547), ประดิษฐกรรมในการเล่าเรื่อง (Narration invention) และสุนทรียรสในภาพยนตร์ ชุดดิเอ็กซ์ไฟล์, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา วาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฉลองรัตน์ ทิพย์พิมาน (2539), วิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์อเมริกันที่มีตัวเอกเป็นสตรี, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ และคณะ (2542), “การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ที่สัมพันธ์กับวิธีการเล่าเรื่องในสื่อมวลชน”, ใน จินตทัศน์ทางสังคมในภาษาสื่อมวลชนศาสตร์แห่งศิลป์แห่งการ เล่าเรื่องในภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ มิวสิควิดีโอ ข่าว และโฆษณา, กรุงเทพฯ: โครงการ สื่อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร (2551), ภาษากับการเมือง/ความเป็นการเมือง, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

________. (2560), บทแนะนำสกุลความคิดหลังโครงสร้างนิยม, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ.

ณัฐพร ลิ้มประสิทธิ์วงค์ (2554), การเล่าเรื่องและการสร้างลักษณะตัวละครในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ที่มีตัวเอกเป็นสตรีจากเทพปกรณัมกรีก, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารการแสดง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ติณณา สิมะไพศาล (2553), การศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะการเล่าเรื่องในละครเกาหลีและละครไทยที่ได้รับความนิยม, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเกาหลี ศึกษา (สหสาขาวิชา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นพพร ประชากุล (2552) “สัมพันธบท (Intertextuality)”, ยอกอักษรย้อนความคิด เล่ม 1 ว่าด้วยวรรณกรรม, กรุงเทพฯ: อ่าน.

นิชธ์นาวิน จุลพราหมณ์ (2554), สัมพันธบทในภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์อเมริกันแนวแวมไพร์ร่วมสมัย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาพยนตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

นับทอง ทองใบ (2548), นวลักษณ์ในการเล่าเรื่อง (New Narration Style) และเอกลักษณ์ในภาพยนตร์แอนิเมชันของฮายาโอะ มิยาซากิ, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บงกช เศวตามร์ (2533), การสร้างความเป็นจริงทางสังคมของภาพยนตร์ไทย กรณีตัวละครหญิงที่มีลักษณะเบี่ยงเบนปี พ.ศ. 2528-2530, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุณยาพร กิตติสุนทโรภาศ (2560), ภาพตัวแทนของตัวละครที่มีภาวะทางจิตเภทในภาพยนตร์ไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

เบลซีย์ แคทเธอรีน (2549), หลังโครงสร้างนิยมฉบับย่อ, แปลโดย อภิญญา เฟื่องฟูสกุล, กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ปวีณา ศิริกุล (2547), การเล่าข่าวในรายการเสียงนกเสียงกาของทวน ทักษิณ, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ปิยวรรณ จิตสำราญ (2554), การเล่าเรื่องและการสื่อความหมายของภาพยนตร์เอเชียตะวันออกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการล้างแค้น, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา วาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยะพิมพ์ สมิตดิลก (2541), การเชื่อมโยงเนื้อหานวนิยายในสื่อสิ่งพิมพ์และในสื่อละครโทรทัศน์,วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

พจมาน มูลทรัพย์ (2551), เรื่องเล่าของเกย์ในชุมชนวรรณกรรมออนไลน์: กรณีศึกษากลุ่ม “บลูสกาย โซไซตี้” ใน www.pantip.com, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พลอยพรรณ มาคะผล (2558), ละครรีเมกกับการถ่ายโยงเนื้อหาในละครโทรทัศน์ไทย, ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิษณุรักษ์ ปิตาทะสังข์ (2548), การเล่าเรื่องและการสร้างความจริงทางสังคมในข่าวคลื่นยักษ์สึนามิ,วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

พิไลวรรณ ซิบยก (2549), การถ่ายโยงข่าวในสื่อมวลชน, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทรภร ธัญญเสรี (2553), ความเป็นจีนในการเล่าเรื่องของภาพยนตร์จีนแผ่นดินใหญ่ที่ฉายต่างประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2551, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทริยา วิริยะศิริวัฒนะ และอัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว (2558), การวิเคราะห์การเล่าเรื่องในภาพยนตร์เรื่อง Les Misérables, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์และ นวัตกรรม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

มาโนช ชุ่มเมืองปัก (2547), การเล่าเรื่องของภาพยนตร์ตลกไทยยอดนิยมชุด “บุญชู” กับการสร้างสรรค์ของผู้กำกับภาพยนตร์, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาค วิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รวมพร ศรีสุมานันท์ (2541), การวิเคราะห์การเล่าเรื่องทางโทรทัศน์ในรายการสัมภาษณ์, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

รัตนา จักกะพาก (2546), จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล: การศึกษาวิเคราะห์, กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________. (2547), จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของอาคิระ คุโรซาว่า: การศึกษาวิเคราะห์, กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตนา จักกะพาก และจิรยุทธ สินธุพันธ์ (2545), จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของสัตยาจิต เรย์: การศึกษาวิเคราะห์, กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตนา ประยูรรักษ์ (2545), การประกอบสร้างความเป็นจริงและการตัดสินผู้ตกเป็นข่าวด้วยการเล่าเรื่องในหนังสือพิมพ์, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวารสาร สนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลินิน แสงพัฒนะ (2558), สัมพันธบทของตัวละครนางเอกในสื่อละครโทรทัศน์ กรณีศึกษา ละครโทรทัศน์เรื่อง แรงเงา, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วรัทพร ศรีจันทร์ (2551), การเล่าเรื่องและการดัดแปลง เดธโน้ต ฉบับหนังสือการ์ตูนแอนิเมชันภาพยนตร์และนวนิยาย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชยุตม์ ปูชิตากร (2556), สัมพันธบทข้ามสื่อและข้ามวัฒนธรรม เรื่อง “ริง” ในนวนิยาย ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์และหนังสือการ์ตูน, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี (2539), การศึกษาวิเคราะห์การเปรียบเทียบการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทยผ่านสื่อนวนิยายและสื่อละครโทรทัศน์เรื่อง สี่แผ่นดิน, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ (2551), ความสัมพันธ์ไทย-ลาวในสื่อบันเทิงไทย: ศึกษากรณีการประกอบสร้างอัตลักษณ์ความเป็นลาวจากภาพยนตร์เรื่อง “หมากเตะโลกตะลึง”, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมสุข หินวิมาน (2548), “ทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมศึกษา”, ใน ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 8-15, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สิวินีย์ ไชยพงษ์ (2554), การเล่าเรื่องในละครโทรทัศน์เกาหลีประเภทโรแมนติกดราม่า, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุภา จิตติวสุรัตน์ (2545), การสร้างความหมายทางสังคมและการรับรู้ความเป็นจริงในภาพยนตร์อิงเรื่องจริง, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล วงศ์รัก (2547), อัตลักษณ์และการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ร่วมสร้างไทย-เอเชีย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดิสา วงศ์ลักษณพันธ์ (2542), การเล่าเรื่องในข่าวการเมืองของหนังสือพิมพ์ไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรรัตน์ เรืองสกุล (2541), การวิเคราะห์การเล่าเรื่องในข่าวหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์รายวัน,วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

อรัญญา มิ่งเมือง (2534), การเล่าข่าวทางวิทยุ, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อิสริยา อ้นเงิน (2560), ภาพตัวแทนของข้าราชการในละครโทรทัศน์, วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ (2536), อารมณ์ขันในสื่อมวลชน, กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือชุดวิจัยและพัฒนานิเทศศาสตร์.

อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์ (2558), “การเล่าเรื่องทางนิเทศศาสตร์: ศึกษาจากงานวิจัย”, วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2(1): 32-58.

อุมาพร มะโรณีย์ (2551), สัมพันธบทของการเล่าเรื่องในสื่อการ์ตูน ละครโทรทัศน์และนวนิยาย,วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

Baker, C. and Jane, E. (2016), Cultural Study: Theory and Practice, London: Sage.

Ben-Shaul, N. (2007), Film: The Key Concepts, Oxford: Berg.

Berger, A. (1992), Media Analysis Techniques, California: Sage.

________. (1997), Narratives in Popular Culture, Media, and Everyday Life, California: Sage.

Boggs, J. (1978), The Art of Watching Films, California: The Benjamin Cumming.

Boggs, J. and Petrie, D. (2003), The Art of Watching Films, New York: McGraw-Hill.

Dyer, R. (1993), “Entertainment and Utopia”, in During, S. (ed.), Cultural Studies, London: Routledge.

Edgar, A. and Sedgwick P. (2008), Cultural Theory: The Key Concepts, London: Routledge.

Fisher, W. (1989), Human Communication as Narration: Toward a Philosophy of Reason, Value, and Action, Columbia: University of South Carolina Press.

Fiske. J. (1987), Television Culture, London: Methuen.

Fludernik, M. and Olson, G. (2011), “Assessing Current Trends in Narratology”, Current Trends in Narratology, Berlin: De Gruyter.

Fulton, H. et al. (2005), Narrative and Media, Cambridge: Cambridge University Press.

Giannetti, L. (1988), Understanding Movies, New Jersey: Prentice-Hill.

Hall, S. (1997), Representation: Cultural Representations and Signifying Practices, London: Sage.

Hayward, S. (2010), Cinema Studies, New York: Routledge.

Huisman, R. et al. (2000), “From Structuralism to Post-Structuralism”, Narrative and Media,Cambridge; Cambridge University Press.

Hurtik, E. and Yarber, R. (1971), An Introduction to Short Story and Criticism, Lexington: Xerox College.

Jameson, F. (1985), Postmodern Culture, London: Pluto Press.

Jarva, V. (2014), “Introduction to Narrative for Futures Studies”, Journal of Futures Studies, 18: 5-26.

Levi-Strauss, C. (1955), “The Structural Study of Myth”, Journal of American Folklore, 78: 423-444.

McDonald, D. (2014), “Narrative Research in Communication: Key Principles and Issues”, Review of Communication Research, 2(1): 115-132.

Mehring, M. (1990), The Screenplay: A Blend of Film Firm and Concert, Boston: Focal Press.

Merriam-Webster’s, Inc. (2003), Merriam-Webster’s Collegiate Dictionary, Massachusetts: Merriam-Webster’s, Incorporated.

Muller, G. and Williams, J. (1985), Introduction to Literature, New York: McGraw-Hill.

Murphet, J. (2005), “Story and Plots”, Narrative and Media, Cambridge: Cambridge University Press.

Shirato, T. and Yell, S. (2000), Communication and Culture: An Introduction, London: Sage.

Swain, D. (1982), Film Scriptwriting, Oxford: Focal Press.

Truby, J. (2007), The Anatomy of Story, New York: Farar, Straus and Giroux.

Encyclopaedia Britannica (2019), Aspects of the Novel, retrieved 4 October 2020 from https://www.britannica.com/topic/Aspects-of-the-Novel.

Ifccenter (2018) Citizen Kane, retrieved 31 May 2019 from http://www.ifccenter.com/films/citizen-kane/.

RollingStone (2018), Green Book’ Review: Odd-Couple Dramedy Is Timely Feel-Good

Movie, retrieved 31 May 2019 from https://www.rollingstone.com/movies/movie-reviews/green-book-movie-review-753192/.

Vuokko, J. (2014), Introduction to Narrative for Futures Studies, retrieved 15 December 2020 from https://jfsdigital.org/wp-content/uploads/2014/04/183-A02.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-08-2021