เรื่องชวนคิดเกี่ยวกับ What You Say Is What You See ในการผลิตเสียงบรรยายภาพ

ผู้แต่ง

  • ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ รองศาสตราจารย์ ดร. ประจำกลุ่มวิชาวิทยุและโทรทัศน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทคัดย่อ

                บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง แนวทางการบรรยายข้อความ ชื่อในรายการสารคดีสำหรับการผลิตเสียงบรรยายภาพ ซึ่งพบว่า แนวทางการ บรรยายข้อความชื่อในรายการสารคดีไม่ได้ยึดหลักการบรรยายภาพแบบภววิสัย (objectivity approach) ทั้งหมด เนื่องจากบางครั้งเงื่อนไขของระยะเวลาความ ยาวช่องว่างเสียง ความยาวของข้อความช่ือ จำนวนการข้ึนข้อความช่ือ ความ สำคัญของภาพ เสียง และข้อความอื่นในช่องว่างเสียงที่มีอยู่ ความถี่ในการขึ้น ข้อความชื่อ และอื่นๆ เป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้ผลิตเสียงบรรยายภาพต้องเลือกใช้ แนวทางอื่นๆ เข้ามาผสมในการผลิตงานเสียงบรรยายภาพด้วย

References

กุลนารี เสือโรจน์ (2562), หลักการเขียนบทเสียงบรรยายภาพ สำหรับรายการสารคดีทางโทรทัศน์, ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ธารินี อินทรนันท์ (2561), คู่มือการผลิตเสียงบรรยายภาพเบื้องต้น (ฉบับสื่อสาธารณะ), กรุงเทพฯ: สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่ง ประเทศไทย.

ธีร์ธวัช เจนวัชรรักษ์ (2558), คู่มือการผลิตเสียงบรรยายภาพ: สื่อภาพยนตร์ ละคร และรายการโทรทัศน์, กรุงเทพฯ: สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา.

ภัทธีรา สารากรบริรักษ์ (2558), เสียงบรรยายภาพที่ผู้พิการทางการเห็นต้องการ, ปทุมธานี: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ (2560), การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของคนพิการทางการเห็นในฐานะผู้ผลิต เสียงบรรยายภาพ, ปทุมธานี: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

________. (2564), แนวทางการบรรยายข้อความชื่อในรายการสารคดีสำหรับการผลิตเสียงบรรยายภาพ, ปทุมธานี: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (2560), แนวทางการจัดทำล่ามภาษามือ คำบรรยายแทนเสียง และเสียงบรรยายภาพ สำหรับการให้บริการโทรทัศน์, กรุงเทพฯ: สำนักงาน กสทช.

อารดา ครุจิต (2561), โทรทัศน์เพื่อการเข้าถึงของคนพิการ, ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อารดา ครุจิต และคณะ (2558), หลักการผลิตเสียงบรรยายภาพ (Audio Description), ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Hart, C. (1999), Television Program Making, New York: Routledge.

Holland, P. (2000), The Television Handbook, London: Routledge.

Snyder, J. (2014), The Visual Made Verbal: A Comprehensive Training Manual and Guide to the History and Applications of Audio Description, Arlington: American Council of the Blind.

Audio Description Coalition (2009), Standards for Audio Description and Code of Professional Conduct for Describers, retrieved 30 January 2016 from http://audiodescriptionccoalition.org/standards.html

Biesterfeld, P. (2008), Documentary Interview Tips, retrieved 2 January 2021 from http://www.videomaker.com/article/c18/14239-documentary-interview-tips

Biesterfeld, P. (2019), The Six Primary types of Documentaries, retrieved 6 January 2021 from http://www.videomaker.com.

Netflix (2019), Audio Descriptions for Netflix Movies and TV Shows, retrieved 30 January 2016 from Audio Description Style Guide v2.1 – Netflix | Partner Help Center (netflixstudios.com)

Remael, A. et al. (2014), Pictures painted in Words: ADLAB Audio Description Guidelines,Retrieved 30 January 2016 from Pictures painted in words: ADLAB Audio Description guidelines | OpenstarTs (units.it)

แม่วงก์ ผืนป่าแห่งความหวัง (2562, ฉบับเสียงบรรยายภาพ) ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

แสงไฟที่ไม่เคยดับ สืบ นาคะเสถียร (2562, ฉบับเสียงบรรยายภาพ) ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

หอมกลิ่นสยาม (2562, ฉบับเสียงบรรยายภาพ) ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

อยุธยาที่ไม่รู้จัก (2562, ฉบับเสียงบรรยายภาพ) ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-08-2021