อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์ในพหุวัฒนธรรมและการสื่อสาร

ผู้แต่ง

  • สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประจำคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์, พหุวัฒนธรรม, กลุ่มชาติพันธุ์, คนพลัดถิ่น, การสื่อสาร

บทคัดย่อ

                บทความเรื่อง “อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์ในพหุวัฒนธรรมและการ สื่อสาร” นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของอัตลักษณ์ ความหมาย และ ปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกับอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธ์ุท่ามกลางสังคมแบบ พหุวัฒนธรรมในช่วงเวลาประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา รวมถึงนำเสนอแนวคิดการ ทำงานของอัตลักษณ์ในยุคหลังสมัยใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์ กับการสื่อสารในโลกยุคปัจจุบัน โดยในบทความจะแบ่งออกเป็น 3 ประเด็นได้แก่(1) สำนึกแห่งอัตลักษณ์ ที่มาและการระบุตัวตน ซึ่งพบว่าการสำนึกอัตลักษณ์ ในแต่ละบุคคล (subjective sense) ขึ้นกับความ “มีใจ” (psychological investment) หรือ “สำนึก” ต่อการดำรงอยู่ของอัตลักษณ์ในกลุ่มชาติพันธุ์ตนเอง (2) การแสดงอัตลักษณ์ในสังคมพหุวัฒนธรรม พบว่า คนมักแสวงหาอัตลักษณ์ ทางชาติพันธุ์ที่โดดเด่นและเป็นประโยชน์กับตน และ (3) บทบาทของสื่อและ การธำรงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์และคนพลัดถิ่น สหรับ “สื่อ” (media) ของกลุ่มชาติพันธุ์หรือคนพลัดถิ่น (diaspora) มิได้หมายความถึงแค่สื่อกระแสหลัก แต่ยังหมายรวมถึงสื่ออื่นๆ เช่น สถาบันหรือองค์กร หรือปฏิบัติการทางสังคม ซึ่งอาจเรียกว่าเป็น “ขนบใหม่” (neotraditional) นอกจากนี้ ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา พบว่า สื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามามีบทบาทสำคัญในกลุ่มชาติพันธุ์และคนพลัดถิ่น อย่างมาก

References

เจือจันทร์ วงศ์พลกานันท์ (2549), กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของสตรีชายแดนกลุ่มชาติพันธุ์มอญและปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มพม่าและไท : กรณีศึกษาชุมชนมอญในจังหวัดกาญจนบุรี, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวิต (2551), วัฒนธรรม การสื่อสารและอัตลักษณ์, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัญพัชร ศรีมารัตน์ (2558), อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมกับกระบวนการกลายเป็นสินค้า: กรณีศึกษาโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์ สปา, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อศิลปะ และการออกแบบสื่อ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และคณะ (2556), เพศหลากเฉดสี: พหุวัฒนธรรมทางเพศในสังคมไท, กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).

ปรวรรณ ทรงบัณฑิตย์ (2549), นิตยสารต้าเจียห่าวกับการนำเสนออัตลักษณ์จีน-สยาม, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีดา อัครจันทโชติ (2561), การสื่อสารกับแนวคิดการข้ามพ้นวัฒนธรรม, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิเชฐ แสงทอง (2549), วาทกรรมรัฐกับการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของชุมชนป่าพรุควนเคร็ง จ.นครศรีธรรมราช, ใน สุวรรณา สถาอานันท์ (บ.ก.), ความจริงในมนุษยศาสตร์, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมพ์อักษรา หรูประกายอักษร (2558), การธำรงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ภายใต้กระบวนการเรียนการสอนในศูนย์คาทอลิกนักบุญอันนาเพื่อเด็กอพยพย้ายถิ่น อ.เมือง จ.สมุทรสาคร, รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมสุข หินวิมาน (2548), “ทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมศึกษา”, ประมวลสาระชุดวิชาปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 8-1, นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง (2553), การสื่อสารเพื่อสร้าง ธำรงรักษา และต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญของกลุ่มชาวมอญพลัดถิ่นในประเทศไทยท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์, วิทยานิพนธ์ปริญญา ดุษฎีบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรา พงศาพิชญ์ (2541), วัฒนธรรม ศาสนาและชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________. (2545), ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กระบวนทัศน์ และบทบาทในประชาสังคม,กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Appadurai, A. (2017), Modernity at Large, London: The Macat Library.

Bar-Haim, G. (1992), “Revista Mea: Keeping Alive the Romanian Community in Israel”, in Ethnic Minority Media, CA: Sage.

Bhabha, H. (1994), The Location of Culture, London: Routledge.

Brubaker, R. and Cooper, F. (2002), “Beyond ‘Identity’”, Theory and Society, 29: 1-47.

Buriel, R. (1987), Ethnic labeling and Identity among Mexican American, In J.S.Phinney & M.J.

Dayan, D. (1999), “Media and Diaspora”, in Gripsrud, J. (ed.), Television and Common Knowledge, London: Routledge.

Hall, S. (2003), “Cultural Identity and Diaspora”, in Braziel, J. and Mannur, A. (eds.), Theorizing Diaspora: A Reader, Sydney: Blackwell.

Helly, D. (2002), “Cultural Pluralism: An Overview of the Debate since the 60s”, in The Global Review of Ethopolitics, 2(1): 79-80.

Maykel, V. (2014), Identity and Cultural Diversity, New York: Routledge.

Parekh, B. (2000), Rethinking Multiculturalism: Cultural Diversity and Political Theory, London: MacMillan.

Qiu, H. (2003), “Communication among Knowledge Diasporas: Online Magazines of Expatriate Chinese Students”, in The Media of Diaspora, New York: Routledge.

Rotheram, M. (1987), Children’s Ethnic Socialization: Pluralism and Development,Newbury Park: Sage.

Santianni, M. (2003), “The Movement for a Free Tibet: Cyberspace and the Ambivalence of Culture Translation”, in The Media of Diaspora, New York: Routledge.

Tehranian, M. (1990), Technologies of Power: Information Machines and Democratic Prospects, Norwood: Ablex.

Karim, K. (1998), “From Ethnic Media to Global Media: Transnational Communication Networks among Diasporic Communities”, retrieved 28 November 2020, from www.transcomm.ox.ac.uk/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-11-2021