การแสวงหาข่าวสารและการตอบสนองต่อเนื้อหาบน Social Media ของกลุ่ม Gen Z

ผู้แต่ง

  • พรทิพย์ สัมปัตตะวนิช รองศาสตราจารย์ กลุ่มวิชาโฆษณา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • แอนนา จุมพลเสถียร รองศาสตราจารย์ กลุ่มวิชาโฆษณา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • กัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์ รองศาสตราจารย์ กลุ่มวิชาโฆษณา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

Gen Z, การแสวงหาข่าวสาร, การเปิดรับ, แรงจูงใจ, การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

            การแสวงหาข่าวสารและการตอบสนองต่อเนื้อหาบน social media ของกลุ่ม Gen Z เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (survey research) โดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และระยะเวลาในการเก็บข้อมูลคือ เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ถึงพฤษภาคม 2563 โดยประชากรที่ศึกษาครั้งนี้เป็นกลุ่ม Gen Z อายุ 18-23 ปี และกำลังศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา โดยขนาดของกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้มีจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจในการการใช้ social media เพื่อแสวงหาข้อมูลข่าวสารในการตอบสนองความต้องการเป็นแรงจูงใจภายใน ด้วยค่าเฉลี่ย 3.96 ซึ่งมากกว่าแรงจูงใจภายนอกที่มีค่าเฉลี่ย 3.64 โดยแรงจูงใจภายในที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การแสวงหาข้อมูลเป็นสิ่งที่ช่วยตอบสนองความใฝ่รู้ แรงจูงใจภายนอกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ เพื่อลดความผิดพลาดในการเรียน การทำงาน การซื้อสินค้า รวมทั้งการตัดสินใจต่างๆ การเปิดรับรูปแบบของข่าวสาร พบว่า มีการเปิดรับข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในรูปแบบของข่าว (news) มากที่สุด รองลงมาคือ ข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอในรูปแบบความบันเทิง ด้านการเปิดรับเนื้อหาข้อมูลข่าวสาร พบว่า มีการเปิดรับข้อมูลข่าวสารด้านการศึกษา (education) มากที่สุด รองลงมาคือ ข้อมูลข่าวสารท่องเที่ยว (travel) นอกจากนี้ ยังพบว่า ความพึงพอใจจากการนำข้อมูลข่าวสารมาใช้ประโยชน์ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.06) โดยมีความพึงพอใจมากที่สุดในประเด็นข้อมูลข่าวสารก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียน (ค่าเฉลี่ย 4.59) รองลงมาคือ ข้อมูลข่าวสารก่อให้เกิดประโยชน์ในการติดต่อกับผู้อื่น (ค่าเฉลี่ย 4.38) สำหรับการเปิดรับเนื้อหาข้อมูลข่าวสารจาก social media ของกลุ่ม Gen Z กับการนำข้อมูลข่าวสารจาก social media ไปใช้ประโยชน์ พบว่า การเปิดรับ social media ทุกประเภทมีความสัมพันธ์กับการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์ เพื่อเชื่อมสัมพันธ์กับบุคคลหรือกลุ่มที่มีความสนใจตรงกัน และเพื่อประโยชน์ในการทำธุรกิจ และผลการวิจัยพบว่า การนำข้อมูลข่าวสารจาก social media ไปใช้ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจจากการนำข้อมูลข่าวสารจาก social media ไปใช้ประโยชน์ โดยมีความสัมพันธ์ระดับสูง (r=.681)

References

คันธิรา ฉายาวงศ์ (2555), การสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ใน Social Media, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐิติภา สัมพันธ์พร (2556), สร้างแบรนด์ให้ติดตลาดด้วยเฟสบุ๊ค: Branding on Facebook, กรุงเทพฯ: ดรีม แอนด์ พับบลิชชิ่ง.

ธนะวัฒน์ วรรณประภา (2560), “Social Media กับการศึกษา”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(1): 7-20.

ไปรยา อรรคนิตย์ (2561), ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งต่อ (Share) วิดีโอคอนเทนต์ออนไลน์ผ่านทางสื่อ Social Media (โซเชียลมีเดีย) ของวัยรุ่นเจเนอเรชั่นแซด, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

พรทิพย์ สัมปัตตะวนิช (2546), แรงจูงใจกับงานโฆษณา, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์ (2554), “Social Media: สื่อแห่งอนาคต”, วารสารนักบริหาร, 31(4): 99-103.

ระวิ แก้วสุกใส และชัยรัตน์ จุสปาโล (2556), “เครือข่ายสังคมออนไลน์: กรณีเฟสบุ๊ค (Facebook) กับการพัฒนาผู้เรียน”, วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(4): 197-215.

รติบดี สิทธิปัญญา (2562), การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์, นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

รักเกียรติ พันธุ์ชาติ (2561), Social Media: แนวทางการนำมาประยุกต์ใช้กับหน่วยงานของรัฐ, กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม.

วิทยา ชีวรุโนทัย (2555), รักและผูกพันเจเนอเรชั่นแซด = Generation Z with Love and Care, กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.

สุวัฒน์ วัฒนวงศ์ (2538), จิตวิทยาการเรียนรู้วัยผู้ใหญ่, กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

สุวิมล วงศ์สิงห์ทอง (2559), “พฤติกรรมการใช้ Social Media กระจายข้อมูลในกลุ่มเยาวชน: Information Dissemination Behavior in Online Social Networks of Teenagers”, วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 34(2).

แสงเดือน ผ่องพุฒ (2556), Social Media: แนวทางการนำมาประยุกต์ใช้ (Social Media: How to Application), กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา และคณะ (2527), รายงานผลการวิจัยนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา,กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Al-Menayes, J. (2015), “Motivations for Using Social Media: An Exploratory Factor Analysis”, International Journal of Psychological Studies, 7(1): 43-50.

Buss, L. (1967), “Motivational Variables and Information Seeking in the Mass Media”, Journalism Quarterly, 44(1): 130-133.

Case, D. (2002), Looking for Information: A Survey of Research on Information Seeking, Needs and Behavior, San Diego: Academic Press.,

Crow, S. (2015), “The Information-Seeking Behavior of Intrinsically Motivated Elementary School Children of a Collectivist Culture”, School Library Research, 18.

Dainton, M. and Zelley, E. (2015), Applying Communication Theory for Professional Life, LA: Sage.

Eather, M. and Ganaie, S. (2018), “Information Seeking Model in the Digital Age”, in Khosrow-Pour, M. (ed.), Encyclopedia of Information Science and Technology, PA: IGI Global, Hershey.

Feinman, S. et al. (1976), “A Conceptual Framework for Information Flow Studies”, in Martin, S. (ed.), Proceedings of the 39th Annual Meeting of the American Society for Information Science, Washington, DC: American Society for Information Science.

Griffin, E. (2012), A First Look at Communication Theory, New York: McGraw-Hill.

Ikoja-Odongo, R. and Mostert, J. (2006), “Information Seeking Behavior: A Conceptual Framework”, South African Journal of Library and Information Science, 72(3).

Kingrey, K. (2002), “Concepts of Information Seeking and Their Presence: The Practical Library Literature”, Library Philosophy and Practice, 4(2).

Kuhlthau, C. (1993), “Principle of Uncertainty for Information”, Journal of Documentation, 49(4): 339-355.

Lee, S. and Lin, J. (2019), “The Influence of Offline and Online Intrinsic Motivations on Online Health Information Seeking”, Health communication, 35(9): 1129-1136.

Marchionini, G. and Komlodi, A. (1998), “Design of Interfaces for Information Seeking”, Annual Review of Information Science and Technology (ARIST), 33: 89-130 .

Messaris, P. and Humphreys, L. (2006), Digital Media: Transformations in Human Communication, New York: Peter Lang.

Nicholas, D. (2000), Assessing Information Needs: Tools, Techniques and Concepts for the Internet Age, London: The Association for Information Management and Information Management International.

Quesenberry, K. (2019), Social Media Strategy, Maryland: Rowman & Littlefield.

Reeve, J. et al. (2018), Sociocultural Influences on Student Motivation as Viewed through the Lens of Self-Determination Theory: Big Theories Revisited, in Gregory, A. et al. (eds.), Information Age, Charlotte: NC Publishing.

Savolainen, R. (2011), “Elaborating the Motivational Attributes of Information Need and

Uncertainty”, Information Research, 17(2).

Shannon, C. and Weaver, W. (1964), The Mathematical Theory of Communication, Urbana:

University of Illinois Press,

Strekalova, Y. (2016), “Finding Motivation: Online Information Seeking Following Newborn Screening for Cystic Fibrosis”, Qualitative Health Research, 26(9).

Weiler, A. (2005), “Information-Seeking Behavior in Generation Y Students: Motivation, Critical

Thinking, and Learning Theory”, Journal of Academic librarianship, 31(1): 46-53.

Wilson T. (1997), “Information Behaviour: An Interdisciplinary Perspective”, Information Processing and Management, 33(4): 551-572.

________. (1981), “On User Studies and Information Needs”, Journal of Documentation, 37(1):

-15.

________. (1999), “Model of Information Behaviour Research”, Journal of Documentation, 55(3): 249-270.

________. (2000), “Human Information Behavior”, Information Science, 3(2): 49-55.

จุไรรัตน์ ทองคำชื่นวิวัฒน์ (2552), “เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Network)”, สืบค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2563 จาก http://ngnforum.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=76&Itemid=1

มนัสวี ศรีนนท์ (2561), “ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 6(1): 364-373, สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2562 จาก file:///C:/Users/user/Downloads/192-13-563-1-10-20180814.pdf

พีรธร บุณยรัตพันธุ์ และคณะ (2555), “การศึกษาโครงการจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการลดผลกระทบทางสังคมจากสถานการณ์สุรากับเยาวชนไทยในอนาคตกรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก”, สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2562 จาก http://ihppthaigov.net/DB/publication/attachresearch/304/chapter12.pdf

วันเดอร์แมน ธอมสัน อินเทลลิเจเนอเรชั่นซ์ (Wunderman Thompson Intelligence), “รายงานเจเนอเรชันซี เอเชียแปซิฟิก (เจเนอเรชั่นแซด: APAC)”, สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2562 จากhttps://www.thansettakij.com/content/strategy/424402.

ศวัส กิ่งวัฒนกุล (2018), “Thais Generation Z Media Behavior”, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2562 จาก https://marketeeronline.co/archives/14731

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (2018), “Trend 2018: Generation Focus”, สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2562 จาก https://web.tcdc.or.th/media/publication_lang_file/167/TREND2018-eBook-PC-SpreadPage.pdf

‘ส่องสเตตัส “โซเชียลมีเดีย” โลก’ (2019), สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2562 จาก www. komchadluek.net.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2016), “ทำความรู้จักคนต่างรุ่นต่างเจเนอเรชัน”, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2562 จาก https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2016/thai2016_3.pdf

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2563 จาก https://www.etda.or.th/terminology-detail/1462.html

สุภารัตน์ แพหีต และณัฐสุดา กาญจน์เจริญ (2559), “Social Media กับการเรียนการสอน”, สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2563 จาก www.smforedu.blogspot.com

โสภา อัยสุวรรณ์ (2558), “ประเภทของ Social Media”, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2563 จาก https://sites.google.com/site/technologysvc/prapheth-khxng-sangkhm-xxnlin

Borlund, P. and Pharo, N. (2019), “A Need for Information on Information Needs”, in Proceedings of CoLIS, the Tenth International Conference on Conceptions of Library and Information Science, Ljubljana, Slovenia, 16-19 June 2019, Information Research, 24(4), retrieved 19 August 2020 from http://InformationR.net/ir/24-4/colis/colis1908.html

Boyd, D. and Ellison, N. (2007), “Social Network Sites: Definition, History and Scholarship, Journal of Computer-Mediated Communication, 13(1): 210-230, retrieved 19 August 2020 from http://jcmc.indiana.edu/vol13/issue1/boyd.ellison.html

Businesslinx.globallinker (2019), “Social Media ในปี 2019 แพลตฟอร์มไหนที่ยังไปต่อได้”, สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2563 จาก www.wynnsoftstudio.com, 2562

Deragon, J. (2007), “NextGen Digital Strategies”, retrieved 5 July 2019 from https://www.socialmediatoday.com/content/motivation-factors.

Dewing, M. (n.d.), “Social Media: Introduction”, retrieved 20 August 2020 from http://www.parl.gc.ca/ Content/LOP/ResearchPublications/2010-03-e.pdf

Katz, E. et al. (1973), “Uses and Gratifications Research”, The Public Opinion Quarterly, 37(4): 509-523, retrieved 21 June 2021 from http://www.jstor.org/stable/2747854.

Ratnadolsite (2559), “สังคมออนไลน์”, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2563 จาก https://ratnadolsite.wordpress.com/

Ryan, S. (2017), “Get Ready for Generation Z, www.forbes.com”, retrieved 30 August 2019 from

http://thumbsup.in.th/2013/08/socialmedia-is-changing-the-world/

Supachok Kidmoh (2016), “ประเภทของ Social Media”, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2563 จาก https://sites.google.com/site/supachok571031243/prapheth-khxng-social-media

TWF Agency (2020), “สรุปข้อมูลผู้ใช้งาน Social Media Platform หลักของคนไทย (อัพเดท กรกฎาคม 2020)”, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2563 จาก https://www.twfdigital.com/blog/2020/08/summary-of-social-media-users-thailand-july2020/

Wang, Z. et al. (2012), “A Dynamic Longitudinal Examination of Social Media Use, Needs, and Gratifications among College Students”, Computer in Human Behavior, 28: 1829-1839, retrieved 30 August 2019 from www.datareportal.com

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2022