การสอนศิลปะปฏิบัติด้านกราฟิกดีไซน์ผ่านระบบออนไลน์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19

ผู้แต่ง

  • ณัชชา เจริญชนะกิจ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ขนบพร แสงวณิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

โควิด-19, กราฟิกดีไซน์, ศิลปะปฏิบัติ, โรคระบาด

บทคัดย่อ

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 มีผลกระทบทำให้สถาบันการศึกษาต้องปรับกระบวนการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ให้สอดคล้องกับมาตรการเว้นระยะห่าง (Social Distancing) การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบด้วยการใช้ระบบออนไลน์ แทนการเรียนรู้ในห้องเรียน บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการจัดการเรียนการสอนศิลปะปฏิบัติด้านกราฟิกดีไซน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยนำเสนอปัจจัยสำคัญสำหรับการสอนทักษะปฏิบัติวิธีการและกระบวนการที่ควรคำนึงถึงในการออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อช่วยสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาทักษะของผู้เรียนด้านกราฟิกดีไซน์ผ่านระบบออนไลน์ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนในรูปแบบวิถีชีวิตใหม่ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 และนำเสนอกรณีศึกษาการออกแบบหลักสูตรระยะสั้นด้านกราฟิกดีไซน์ในรูปแบบออนไลน์

References

ชณวรรต ศรีลาคำ และ พัฒนา สอดทรัพย์. (2561). The Direction of Self –directed learning as based on The Thailand 4.0 Policy ทิศทางการเรียนรู้ด้วยตนเองตามนโยบายประเทศไทย 4.0. วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(1), 49-62.

ชนิดาภา บุญประสม และ สรเดช ครุฑจ้อน. (2560). การวิเคราะห์ระบบบริหารการจัดการเรียนรู้บนเทคโนโลยีคลาวด์ในรูปแบบการให้บริการซอฟต์แวร์. ใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้และสิ่งประดิษฐ์ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2561.(น.273-284). ปทุมธานี: ผู้แต่ง.

ทรรศวรรณ ปรีดาวิภาต และ ฐะนุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์ (2561). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง ของมหาวิทยาลัยในอนาคต. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2), 51-59.

ธนพงษ์ ไชยลาโภ, เอกลักษณ์ โภคทรัพย์ไพบูลย์, และ ปริญญ์ โสภา. (2558). การพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์เรื่อง : การออกแบบเพื่อการผลิตสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 4(2), 134-143.

นวพรรษ จันทร์คำ และ เกียรติศักดิ์ พันธ์ลำเจียก (2561). การพัฒนาคอร์สแวร์เพื่อการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสที่มีต่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้านการคิดสร้างสรรค์ในระดับอุดมศึกษา. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 7(1), 104-112.

ปิยะวรรณ ปานโต. (2563). การจัดการเรียนการสอนของไทยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19). Retrieved March 12, 2020, fromhttps://library2.parliament.go.th/giventake/content_royrueng/2563/rr2563-jun5.pdf

พงศธร มหาวิจิตร. (2560). นวัตกรรมการเรียนรู้จากฟินแลนด์. นิตยสาร สสวท, 46(209), 40-45.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2563). เรียน “ออนไลน์” กับการปิด-เปิดโรงเรียนในช่วงโควิด-19. Retrieved January 5, 2020, from https://www.posttoday.com/finance-stock/columnist/621935

ไพจิตร สดวกการ. (2538). การศึกษาผลการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิซึมที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และความสามารถในการถ่ายโยงการเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะครุศาสตร์.

วรัตต์ อินทสระ. (2019). Game Based Learning The Latest Trend Education ๒๐๑๙ เปลี่ยนห้องเรียนเป็นห้องเล่น. Retrieved from https://wbsc.dusit.ac.th/pluginfile.php/534/mod_forum/attachment/4320/GBL%20DOC.pdf

วิทัศน์ ฝักเจริญผล, กนิษฐา เชาวน์วัฒนกุล, พินดา วราสุนันท์, กุลธิดา นุกูลธรรม, กิติศาอร เหล่าเหมณี, สินีนุช สุวรรณาภิชาติ, และ สุมิตร สุวรรณ. (2563). ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

ภายใต้สถานการณ์ระบาดไวรัส Covid-19. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 4(1), 44-61.

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2563). โควิด : สึนามิซัดการศึกษาเกิดกระแส Thai MOOC ฟื้นคืนชีพ. Retrieved March 18, 2020, from https://search-ebscohost-com.ezproxy.car.chula.ac.th/login.aspxdirect=true&db=edsbas&AN=edsbas. ED4E0CB7&site=eds-live

Collins-Meltzer, T. (2020). Online Learning vs Traditional Onsite Learning: Which is Better?. Retrieved January 5, 2020, from https://www.noodle.com/articles/online-learning-vs-traditional-onsite-learning-which-is-better

Naqvi, W. M. & Sahu, A. (2020). Paradigmatic Shift in the Education System in a Time of COVID 19. Journal of Evolution of Medical and Dental Sciences, 9(27), p.1974.

UNESCO, United Nations Children’s Fund, World Bank, & World Food Programme. (2020). กรอบการทำงาน สำหรับการเปิดสถานศึกษา หลังโควิด-19. Retrieved January 5, 2020, from https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000373348_tha

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29