ความสำคัญของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความ “ความสำคัญของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์” มุ่งศึกษาความหมายของทรัพยากรมนุษย์และการวิจัย ขอบเขตการวิจัยทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการวิจัยทรัพยากรมนุษย์ ประโยชน์ของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0 มุมมองธุรกิจและการทำงานในยุคปัจจุบันจะเน้นผู้ที่มีความสามารถ การจัดการข้อมูลทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางสังคมคือสิ่งที่ขาดไม่ได้ ดังนั้นฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องอาศัยเทคโนโลยีช่วยในการพัฒนาประสบการณ์ของพนักงาน เสริมสร้างพลังให้แก่บุคลากรทำให้บุคลากรมีส่วนร่วมและปรับตัวได้ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. กรุงเทพธุรกิจ. (2561). การจัดการแรงงานดิจิทัล ท้าทายธุรกิจยุค 4.0 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/788131 (11 มกราคม).
3. กฤษณะ สุกพันธ์, อิสราภรณ์ ทนุผล และเนตรดาว ชัยเขต. (2556). “รูปแบบค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในเขตภาคตะวันออก”. Burapha Journal of Business Management, Faculty of Management and Tourism Burapha University.
4. กัลยาณี เสนาสุ. (2556). การบริหารค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
5. กิตติ มิลําเอียง. (2550). “การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษยในองคการภาครัฐยุคใหม่”. Journal of Humanities and Social Sciences, Vol. 8 (1)
6. เกื้อจิตร ธีรกาญจน์. (2551). แรงงานสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
7. จีระ หงส์ลดารมภ์. (2533). แนวคิดและหลักการขอบข่ายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 31. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
8. ทองศรี กำภู ณ อยุธยา. (2536). การบริหารงานบุคคลในแนวทางใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ตุลา.
9. เทียนฉาย กีระนันทน์. (2537). สังคมศาสตร์วิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงใหม่). กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
10. นพ ศรีบุญนาค. (2545). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: สูตรไพศาล.
11. บรรจง ชูสกุลชาติ. (2533). การบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาประชาชน. กรุงเทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
12. บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก.
13. ปฏิพัฒน์ อัครศรีเรือง. (2559). บทวิจารณ์หนังสือ “การบริหารค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Compensation Management)”. Hrod Journal. Volume 8 Number 1 January - June 2016.
14. ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
15. ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.
16. วันเฉลิม พลอินทร์. (2549). “การสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานขององค์การพฤติกรรมความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทปูนซิเมนต์ไทย ทุ่งสง จำกัด”. จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
17. วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2554). แรงงานสัมพันธ์เชิงสมานฉันท์ในประเทศไทย. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ NIDA Development Journal. ปีที่ 51 ฉบับที่ 1.
18. สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA). (2561). Talent Mobility: Changing Workforce Demographics and Dynamics. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https:// www.brandbuffet.in.th/2017/12/tma-day-2017-2/. (11 มกราคม 2561)
19. สารีพะห์ แวหามะ. (2558). กระบวนการสรรหาและคัดเลือกพนักงานขององค์กร. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
20. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง จำกัด.
21. Best, John W. (1977). Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hill.
22. Lehmann, Irvin J and William A Mehrens. (1971). Education Research Reading in Focus. New York: Holt Rinehart and Winston.