การเจรจาต่อรองในการบริหารจัดการภาครัฐ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเจรจาต่อรองในการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้อำนาจจากการต่อรองอย่างเป็นทางการ เพื่อการยอมรับและความเห็นชอบในการเปลี่ยนแปลงข้อเสนอที่ได้ทำการเจรจากัน หรือเป็นขั้นตอนที่สองฝ่ายขึ้นไปมีการต่อรองกันเพื่อแลกเปลี่ยนข้อเสนอ หรือเป็นการประชุมเพื่อค้นหาข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกัน หรือเป็นขั้นตอนของการตัดสินใจร่วมกันเมื่อแต่ละฝ่ายมีความพึงพอใจและความต้องการที่แตกต่างกัน กระบวนการของบุคคลที่ต้องการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีในการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้เกิดการประนีประนอม พยายามหาข้อตกลงที่ยอมรับได้ บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความหมายของการเจรจาต่อรอง สาเหตุของการเจรจาต่อรอง กระบวนการของบุคคลที่ต้องการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ปัญหาการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ การจัดการความขัดแย้งในการบริหารจัดการภาครัฐ และการเจรจาต่อรองตามหลักพระพุทธศาสนา แนวคิดทฤษฎีการเจรจาต่อรอง สาเหตุของความขัดแย้ง กลยุทธ์กรอบความคิดในการเจรจาต่อรอง
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. เฉลิม ศรีผดุง. (2553). “การสร้างความโปร่งใสในการแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตำแหน่ง ระดับสูง”. เอกสารประกอบการสัมมนา คณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา. (เอกสารอัดสำเนา)
3. พระไพศาล วิสาโล. (2552). การไกล่เกลี่ยแบบพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
4. ภานุมาศ ฉัตรพิทักษ์โชค. (2556). “กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง. 756457: Negotiation เจรจาต่อรอง 3”. [ออนไลน์]. แหล่งที่ https://www.slideshare.net/ chamokaka /ss-23606449 [สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2561].
5. สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2545). กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
6. Chutinon Putthiwanit & Shu-Hsun Ho. (2011). “Buyer Success and Failure in Bargaining and Its Consequences”. Australian Journal of Business and Management Research (Online), Vol. 1, No. 5
7. Greenberg, J. & Baron, R.A. (1997). Behavior in organizations. 6th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
8. Kilmann R.H., & Thomas K.W. (1975). “Interpersonal Conflict-Handling Behavior as Reflections of Jungian Personality Dimensions”. Psychological Reports.
9. Pinkly, R. (1990). “Dimensions of conflict frame : Disputant interpretations of conflict.” Journal of Applied Psychology.
10. Pneuman, Roy W. and Bruhl Margaret E. (1982). Managing Conflict. New Jersey: Prentice-Hall.
11. Stephen P. Robbins, Mary Coulter. (1991). Management. Wallingford, United Kingdom. Publisher: Prentice Hall.
12. Walton, R. & McKersie, R. (1965). A Behavioral Theory of Labor Negotiations: An Analysis of a Social Interaction System. New York: McGraw-Hill.