การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้ำเพื่อการเกษตร ตามหลักพรหมวิหารธรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้ำเพื่อการเกษตรนั้น น้ำถือว่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค หรือทางด้านการเกษตร จึงส่งผลต่อปัจจัยในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้ำ โดยยึดเอาหลักการมีส่วนร่วมและเอาหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนนั้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมกัน พร้อมได้รับผลประโยชน์ในการใช้น้ำได้อย่างต่อเนื่องและไม่ขาดแคลน ในการนำเอาหลักธรรมนั้นมาประยุกต์มาใช้ให้ดีขึ้น คือ หลัก พรหมวิหารธรรม มี 4 ประการ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา มาสนับสนุนให้ดีขึ้นในด้านการมีส่วนร่วมซึ่งกันและกัน
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. ปราโมทย์ ไม้กลัด. (2540). การบริหารจัดการทรัพยากรแบบบูรณาการอย่งยั่งยืน, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
3. ปรีดา ปูนพันธ์ฉาย. (2540). “ผลของการให้คำแนะนำแบบมีส่วนร่วมต่อความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ”. รายงานวิจัย, .บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
4. ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ. (2543). กระบวนการพัฒนาและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการทำวิจัย (สกว).
5. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
6. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
7. มูลนิธิปริญญาโทนักบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2551). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลักสำนักนายกรัฐมนตรี.
8. เมธี สูตรสุคนธ์และคณะ. (2549). “ศึกษาการพัฒนาและแก้ไขปัญหาน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม”, รายงานวิจัย. คณะกรรมการวิจัยและพัฒนาของวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
9. วันชัย วัฒนศัพท์. (2549). ความขัดแย้ง: ทางออกด้วยสันติวิธี. นนทบุรี: สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า สมาคมสันติวิธีแห่งประเทศไทย.
10. อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สำหรับนักบริหารท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.
11. Cohen & Uphoff. (1980). Effective Behavior in Organizations. New York: Richard D. Irwin Inc.
12. Friedmann, John. (1993). Empowerment: The Politics of Alternative Development, Blackwell: Cambridge M.A. and Oxford UK.
13. Sritong, N. (2009). To Increase its Leadership in Community Development. Bangkok: OS Printing House.