การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน

Main Article Content

ภูรีภัทร ห้วยหงษ์ทอง

บทคัดย่อ

การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสำคัญของหลักพุทธธรรมที่จะทำให้การทำงานมีคุณภาพทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจ บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา หลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ความหมายเกี่ยวกับหลักภาวนา 4 ความสำคัญเกี่ยวกับหลักภาวนา การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มีสองอย่างคือ สมถภาวนา ฝึกอบรมให้เกิดความสงบ และวิปัสสนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจเป็นจิตร ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงาน ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 2 ปัจจัยคือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และปัจจัยด้านภาระงาน คุณภาพชีวิตในการทำงาน และการนำเสนอรูปแบบการบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน และแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทำงาน และคุณภาพชีวิตการทำงาน 8 ด้าน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. เจตนิพิฐ สุจิระกุล. (2557). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารบริหารการศึกษา มศว. Vol 11, No 20.

2. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2546). ธรรมกับการพัฒนาชีวิต. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

3. พระพรหมคุ. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประศัพท์. พิมพ์ครั้ง 10. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร์ พริ้นเตอร์ แมส โปรดักส์ จำกัด.

4. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิต. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

5. พระธรรมปิฎ. (2546). พจนานุกรมุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

6. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: ดวงแก้ว.

7. Maslow. Abraham. (1970) Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publishers.

8. Vroom. H Victor. (1964). Work and Motivation. Now York: Wiley and Sons Inc.

9. Walton. Richard E. (1973). Quality of Working Life: What is it?. Sloan Management Review. 4 (7): 20-23.