การเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาการเมืองการปกครอง 2. ศึกษาการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา และ 3. ประยุกต์ใช้หลักทศพิธราชธรรมสำหรับการเมืองการปกครอง โดยทำการศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิ และตำราวิชาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำข้อมูลมาวิเคราะห์สรุปผลในเชิงพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า
- การเมืองการปกครอง เป็นการดูแลจัดการให้มนุษย์อยู่กันอย่างเป็นธรรม และเป็นระเบียบ
- การเมืองการปกครองในทางพระพุทธศาสนา เป็นการปกครองที่ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยโดยใช้ธรรมะ
- ทศพิธราชธรรม แปลว่า ธรรมของพระราชาหรือธรรมสำหรับผู้นักปกครอง 10 ประการ ซึ่งผู้นำจะต้องเสริมสร้างให้มีขึ้นเป็นคุณสมบัติประจำตัว อันจะช่วยในการปฏิบัติเพื่อยึดเหนี่ยวน้ำใจสมาชิกในกลุ่ม ให้ดำเนินไปบรรลุถึงเป้าหมาย นับว่ามีค่าแก่การเป็นผู้นำด้านการปกครองมาก ย่อมทำให้สมาชิกในกลุ่มรักใคร่เชื่อฟัง เคารพนับถือ เชื่อมั่น และให้ความร่วมมือร่วมใจได้มาก อันจะเป็นผลช่วยให้บรรลุถึงความรับผิดชอบต่อหน้าที่
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
1. กาญจนี ละอองศรี และยุพา ชุมจันทร์. (2527). การปกครองและการบริหารของไทยสมัยโบราณ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
2. นาธาเนียล ฮาร์ริส. (2555). ระบอบการปกครอง: ราชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ ปาเจรา จำกัด.
3. พญาลิไทย. (2535). ไตรภูมิพระร่วง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
4. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2536). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
5. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). นิติศาสตร์แนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
6. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่มเติม ช่วงที่ 1). (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
7. พระราชเมธี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ). (2528). ทศพิธราชธรรมกถา. ประมวลพระธรรมเทศนา ในอภิลักขิตสมัยสมโภชพระชนมายุ ครบ 5 รอบ พระนักษัตรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2530. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
8. พุทธทาสภิกขุ. (2531). ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหมิตร.
9. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2532). อรรถกถาภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาฯ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิญญาณ.
10. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ จำกัด.
11. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำกัด (มหาชน).
12. สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2534). พระพุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. นาธาเนียล ฮาร์ริส. (2555). ระบอบการปกครอง: ราชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ ปาเจรา จำกัด.
3. พญาลิไทย. (2535). ไตรภูมิพระร่วง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
4. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2536). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
5. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). นิติศาสตร์แนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
6. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่มเติม ช่วงที่ 1). (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
7. พระราชเมธี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ). (2528). ทศพิธราชธรรมกถา. ประมวลพระธรรมเทศนา ในอภิลักขิตสมัยสมโภชพระชนมายุ ครบ 5 รอบ พระนักษัตรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2530. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
8. พุทธทาสภิกขุ. (2531). ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหมิตร.
9. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2532). อรรถกถาภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาฯ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิญญาณ.
10. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ จำกัด.
11. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำกัด (มหาชน).
12. สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2534). พระพุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.