การพัฒนาชุมชนเชิงพุทธบูรณาการ

Main Article Content

พระมหาภาธร อาภาธโร
พลวัฒน์ สีทา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาชุมชนเชิงพุทธบูรณาการ พบว่า กระบวนการพัฒนาชุมชน เป็นกระบวนการที่มุ่งเสริมสร้างความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐกับประชาชนในชุมชนนั้น ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เพื่อให้เกิดความเจริญในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น การพัฒนาชุมชนเชิงพุทธบูรณาการ เป็นการกล่าวถึงการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาบูรณาการเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาชุมชน บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา นิยามและ หลักแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ความจำเป็นในการพัฒนาอย่างยั่งยืน กระบวนการพัฒนาแบบยั่งยืน ความหมายและแนวคิดของกับการพัฒนาชุมชน และการนำหลักสาราณียธรรมมาบูรณาการกับการพัฒนาชุมชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. กรมพัฒนาชุมชน. (2548). ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาชุมชน.

2. เกื้อวงศ์ บุญสิน. (2538). ประชากรกับการพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3. คณาจารย์สถาบันราชภัฎสวนดุสิต. (2543). ความจริงของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

4. คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเซียง. (2546). หนังสือบูรณาการแผนใหม่ นักธรรมชั้นตรี. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเซียง.

5. โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัชฎ์. (2532). การพัฒนาประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาแห่งชาติ.

6. ชัยอนันต์ สมุทวานิช. (2541). ทฤษฎีใหม่: มิติที่ยิ่งใหญ่ทางความคิด. กรุงเทพฯ: บริษัทสุขุมและบุตรจำกัด.

7. ชิรวัฒน์ นิจเนตร. (2528). การศึกษากับสังคมการพัฒนาชุมชน เอกสารนิเทศการศึกษา ฉบับที่ 269. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.

8. ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. (2538). ปรัชญา 201 พุทธศาสน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

9. พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). (2543). การพัฒนาจิต. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย.

10. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

11. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม.

12. พระไพศาล วิสาโล. (2543). พุทธธรรมกับการพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

13. พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิญาโณ). (2539). ธรรมะสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: บริษัท คลังวิชา จำกัด.

14. พัฒน์ บุณยรัตนพันธ์. (2517). การสร้างพลังชุมชนโดยขบวนการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

15. ไพฑูรย์ เครือแก้ว. (2518). ลักษณะสังคมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บพิธ.

16. ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2524). การบริหารงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพนิช.

17. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิชชั่นส์.

18. วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2531). การพัฒนาชนบทไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

19. วิทยากร เชียงกูล. (2540). เพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร.

20. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2532). หลักการพัฒนาชุมชนการพัฒนาชุมชนประยุกต์. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

21. สนธยา พลศรี. (2545). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

22. สมพร เทพสิทธา. (2536). การพัฒนาแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สมชายการพิมพ์.

23. สมาน รังสิโยกฤษฏ์. (2546). การบริหาราชการไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.