แรงงานต่างด้าวกับการพัฒนาประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการแรงงานต่างด้าวและผลกระทบต่อไทยในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นฐาน เช่นการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร การประมงและการก่อสร้าง งานดังกล่าวแรงงานไทยไม่นิยมทำเพราะเป็นงานที่สกปรก เต็มไปด้วยฝุ่นและอันตราย รวมทั้งปริมาณแรงงานคนไทยมีไม่เพียงพอ จำเป็นต้องนำเข้าแรงงานต่างด้าว การนำเข้าแรงงานต่างด้าวไม่เพียงแต่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเท่านั้นยังมีผลกระทบต่อประเทศที่เป็นปัญหาทางสังคม ระบบสาธารณสุข การเมืองระหว่างประเทศ งบประมาณและเศรษฐกิจมหภาคไทยมีมาตรการจัดการแรงงานที่มีทะเบียนคุมและควบคุมตรวจสอบตามหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐนั้นไม่เพียงพอควรอย่างยิ่งที่รัฐบาลจะจัดการแบบสร้างสรรค์ คือการให้การศึกษา ส่งเสริมภาคเอกชนพัฒนาแรงงานต่างด้าวให้เป็นแรงงานกึ่งฝีมือเพื่อเพิ่มผลิตภาพของกิจการเอกชนเอง รวมทั้งเพื่อรองรับกิจการของเอกชนที่ไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. กระทรวงแรงงาน. (2017). ก.แรงงาน เผย 'แนวทาง 3 มิติ: จัดระเบียบแรงงานต่างด้าว. เข้าถึงได้จาก https://www.mol.go.th/content/56343/1484931986.
3. ฉัตรทิพย์ นาคสุภา. (2527). สรุปประวัติศาสตร์เศรษฐกิจหมู่บ้านไทย. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. ชัย เรืองศิลป์. (2541). ประวัติศาสตร์ไทยสมัย พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๔๕๓ ด้านเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
5. มหาวิทยาลัยมหิดล. (2561). สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล;ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/ gazette.aspx .
6. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). จำนวนประชากรภาคการเกษตร ปี 2554-2558. เข้าถึงได้จาก https://www.agriinfo.doae. go.th/5year /general/54-58/farmer54-58.pdf .
7. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2017). อนาคตแรงงานไทยภายใต้เศรษฐกิจ 4.0. เข้าถึงได้จาก https://www.bltbangkok.com/article/info/48/255.
8. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2561). จำนวนประชากร การเกิด และการตาย ทั่วราชอาณาจักร ปี พ.ศ. 2536 - 2560 รายปี. เข้าถึงได้จากhttps:// www.social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReportFinal.aspx? reportid=68& template=2R1C&yeartype=M&subcatid=1.
9. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2561). การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
10. Birkland, T. A. (2011). An Introduction to the PolicyProcess : Theories, Conceptsand Models of Public Policy Making. New York: M.E.Sharpe.
11. Kraft, M.E. & Furlong, S.R. (2010). Public Policy. (3rd ed). Washington D.C.: CQPresss.
12. Nakamura, R.T. (1987).The Textbook Policy Process and Implementation Research. Policy Studies Journal, 7(1).
13. Newstrom, J.W. & Dvis, K. (1993). Organizational Behavior ; Human Behavior at Work. (9th ed). New York: McGraw-Hill.