การศึกษาการปรับปรุงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท พีพีเอส.ออโต้เทรด จำกัด

Main Article Content

นวพล จินตะบุตร
อาทิตย์ คูประเสริฐ
ณัฐนันท์ โลกวิสัย
สหรัถ ธรรมโรจน์
สุเทพ เยี่ยมขาว
มัชนิกา อินต๊ะขัน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพของพนักงานและการจูงใจลูกค้าโดยการใช้เทคนิคการฝึกอบรมและการพัฒนาในระหว่างการทำงานและนำหลักPDCA และเทคนิคการขายเพื่อจูงใจลูกค้าเข้ามาช่วยในการพัฒนาพนักงานและการสร้างยอดขายของบริษัทเพื่อนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและส่งผลให้องค์กรนั้นประสบความสำเร็จและคุณภาพในการขายมากยิ่งขึ้น ผลการวิจัย พบว่า บริษัทมีพนักงานที่ขาดประสบการณ์และขาดความกระตือรือร้น จนทำให้งานเกิดความล่าช้า เช่น พนักงานทำน็อตบางชิ้นของส่วนประกอบในรถยนต์หาย ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือผิดวิธีจนทำให้ลูกค้าขาดความเชื่อในการบริการและการไม่เข้ามาใช้บริการในครั้งถัด จำกัด โดยการนำเทคนิคการฝึกอบรมและการพัฒนาในระหว่างการทำงาน และนำหลักPDCA และเทคนิคการขายเพื่อจูงใจลูกค้าเข้ามาช่วยในการพัฒนาพนักงานและการสร้างยอดขายของบริษัทเพื่อนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและส่งผลให้องค์กรนั้นประสบความสำเร็จและคุณภาพในการขายมากยิ่งขึ้น หลังการปรับปรุงพบว่า สามารถลดจำนวนการปฏิบัติงานของพนักงานที่ผิดพลาดถึง 70% และยังสามารถเพิ่มจำนวนพนักงานให้มีความกระตือรือร้นในการทำงานอีกร้อยละ 28.57% ทั้งนี้สามารถเพิ่มความพึงพอใจในการบริการแก่ลูกค้าร้อยละ 33.33%

Article Details

How to Cite
จินตะบุตร น., คูประเสริฐ อ. ., โลกวิสัย ณ. ., ธรรมโรจน์ ส. ., เยี่ยมขาว ส. ., & อินต๊ะขัน ม. . (2020). การศึกษาการปรับปรุงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท พีพีเอส.ออโต้เทรด จำกัด. วารสารวิจยวิชาการ, 3(3), 59–70. https://doi.org/10.14456/jra.2020.6
บท
บทความวิจัย

References

ดนัย เทียนพุฒ. (2542). ส่องโลกทรรศน์นักบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชู โสดา. (2545). การพัฒนาบุคคลและฝึกอบรมกรุงเทพ. คณะวิทยาการบริการจัดการ: สถาบันราชภัฏจันเกษม.

พะยอม วงค์สารศรี. (2545). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุภายง.

วันทนา เนาว์วัน. (2548). การพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม. พระนครศรีอยุธยา: คณะวิทยาการบริการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2548). ความหมายการฝึกอบรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ห้างหุ่นส่วน เอ็ม. ที. เพลส.

สมชาย กิยรรยง และอรจรีย์ ณ ตะกั่ว. (2550). ความหมายการฝึกอบรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น.

สุจิตรา ธนานันท์. (2551). ประโยชน์ของการฝึกอบรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็น เพรส.

สุภาพร พิศาลบุตร และยงยุทธ เกษสาคร. (2521). กระบวนการพัฒนาและฝึกอบรม การพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ห้างหุ้นส่วน วีเจ พริ้นติ้ง.

Cherrington, D.J. (1995). How to Supervise People. New York: McGraw-Hill.