ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์

Main Article Content

ภาราดร แก้วบุตรดี
ศศิกิจจ์ อ่ำจุ้ย
อาณัติ เดชจิตร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ พบว่า ภาวะผู้นำในยุคโลกาภิวัตน์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาตามลำดับเริ่มจากยุคสังคมเกษตรกรรม ยุคสังคมอุตสาหกรรม ยุคสังคมแห่งข้อมูล ยุคสังคมความรู้ ยุคของนักคิดนักบูรณาการความรู้ ยุคแห่งการสร้างสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจของโลกแบบใหม่ มีการแลกเปลี่ยนความรู้และทัศนะคติใหม่ ๆ มีการร่วมมือแก้ปัญหา รวมไปถึงการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าผลิตภัณฑ์ และการบริการต่าง ๆ อย่างรวดเร็วในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้น ผู้นำจะต้องมีลักษณะเป็นผู้ที่ว่องไวและปรับตัวได้ง่าย สามารถนำพาองค์การไปสู่การปฏิรูปหรือปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม โครงสร้าง ระบบ และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่ความอยู่รอดและความเจริญก้าวหน้าขององค์การนั่นเอง

Article Details

How to Cite
แก้วบุตรดี ด., อ่ำจุ้ย ศ. ., & เดชจิตร อ. . (2021). ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์. วารสารวิจยวิชาการ, 4(2), 283–296. https://doi.org/10.14456/jra.2021.50
บท
บทความวิชาการ

References

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา: กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.

สัมฤทธิ์ กางเพ็งและสรายุทธ กันหลง. (2555). ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์: แนวคิดเชิง ทฤษฎี. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

Beechler, S. and Javidan, M. (2007). Leading with a Global Mindset. In Javidan, M., Hitt, M. A., and Steers, R. M. (eds.), The Global Mindset Advances in International Management, 19, 1-10.

Bingham, C., Felin, T., & Black, J. S. (2000). An interview with John Pepper: Whatit takes to be a global leader. Human Resource Management, 39(2&3), 282-292.

Brownell, J. (2006). Meeting the competency needs of global leaders: a partnership approach. Human Resource Management, 45(3), 309-333.