ภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้ง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้ง พบว่า ภาวะผู้นำ หรือความเป็นผู้นำเป็นกระบวนการที่ผู้บริหารจะนำออกมาหรือแสดงออกมาใช้เพื่อให้เกิดผลหรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้ที่อยู่รอบข้างในองค์การ ซึ่งปัจจัยที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ภาวะผู้นำมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้นำจะต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตัวหรือความสามารถพิเศษบางอย่างที่คนรอบข้างไม่มีและเป็นที่ยอมรับ รวมถึงยังเป็นผู้ที่ประกอบไปด้วยความรู้ ความสามารถ หรืออาจเป็นผู้ที่มีพร้อมทั้งศาสตร์และศิลป์ มีความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนความต้องการของคน หรือสนองตอบความต้องการของคนได้ดี เพราะถ้าผู้นำสามารถเปลี่ยนความต้องการของคนได้ก็สามารถเปลี่ยนทัศนคติ หรือเจตนคติของคน ๆ นั้นได้ นอกจากนั้นผู้นำที่ดีจะต้องช่วยในการพัฒนาให้คน ๆ นั้นให้มีความรู้ ความสามารถ หรือมีความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงานตามศักยภาพของคน ๆ นั้นด้วย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
บรรยวัสถ์ ฝางคำ. (2555). พุทธวิธีการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศึกษาและวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระสมุห์นริศ นรินฺโท (แซ่น้า). (2561). การพัฒนาครูเพื่อคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิทัล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 344-355.
วิไลลักษณ์ ลังกา. (2559). โครงการอนาคตของคุณลักษณะครูไทยในทศวรรษหน้า. (รายงานการวิจัย). คณะศึกษาศาสตร์: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักเลขาธิการการสภาการศึกษา. (2562). ครูไทยยุคใหม่สนใจดิจิทัล. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
อภิภา ปรัชญพฤทธิ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0. (รายงานการวิจัย). คณะครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.