ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

พัชราภรณ์ สิทธิสถิตย์
กัลยมน อินทุสุต

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2564 จำนวน 370 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ Cohen และทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเที่ยง เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

How to Cite
สิทธิสถิตย์ พ. ., & อินทุสุต ก. . (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจยวิชาการ, 6(6), 81–96. https://doi.org/10.14456/jra.2023.131
บท
บทความวิจัย

References

กวิสรา ชูทอง. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จังหวัดปราจีนบุรี. (งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ขวัญฤทัย ภู่สาระ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

นิรันดร์ สู่โดด. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชน (ประเภทสามัญศึกษา) สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ปรียานุช ศรีสุขคำและคณะ. (2564). อิทธิพลของภาวะผู้นำเหนือผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วารสารสหศาสตร์คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 21(2), 162-176.

ภาวิณี วัฒนพรหม. (2565). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบยั่งยืนตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารวิจยวิชาการ, 5(3), 179-192.

ลดารชา วิชญปรีดากร และศิลป์ชัย สุวรรณมณี. (2562). ภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3. ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 (น. 1109). สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

วสันต์ ศักดิ์ดาศักดิ์. (2565). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำที่ยั่งยืน กับประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษานนทบุรี (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วิรัช บุญรักษ์ และวิเชียร รู้ยืนยง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 18(83), 72-83.

วิไลภรณ์ เตชะ. (2561). โมเดลสมการโครงสร้างเชิงเส้นภาวะผู้นําแบบยั่งยืนของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

ศุภมาส ภาสุระ และสุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การศึกษาระดับสมรรถนะภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 13(3), 377-387.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

สุนทรีพร อำพลพร. (2564). สังเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำที่ยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์, 7(3), 194-207.

สุวิตรา บุญแจ้ง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำที่ยั่งยืนของสถานศึกษา กับประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1. (การศึกษาค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อินทร์แปลง อบอุ่น และกนกอร สมปราชญ์. (2560). ภาวะผู้นำโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาวิชาชีพครู ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 25-35.

Çayak, S. (2021). The Effect of Sustainable Leadership Behaviors of School Principals on Teachers Organizational Commitment and Job Satisfaction. Discourse and Communication for Sustainable Education, Discourse and Communication for Sustainable Education, 12(1), 102-120.

Cohen, L., Manion, L, & Morrison, K. (2018). Research methods in education. (8th ed.). New York : Routledge.

Hargreaves, A. (2007). Sustainable leadership and development in education: creating the future, conserving the past. European Journal of Education, 42(2), 223-233.

Hoy, W. K. & Miskel, C. G. (1991). Education administration: Theory research and practice. (4th ed.). New York : McGraw-Hill.

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. New York : Wiley & Son.