ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 : การดำเนินการวินัยของผู้บริหารท้องถิ่นในกรณีที่ ป.ป.ช.ชี้มูลความผิด

Main Article Content

ไศลโสภิน ภิรมย์ไกรภักดิ์
กันตินันท์ นามตะ
สมปอง สุวรรณภูมา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุง แก้ไขหรือเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 ผลการศึกษา พบว่า ยังมีข้อบกพร่องหลายประการ การดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการป.ป.ช.) ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 โดยการชี้มูลความผิดของผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่นที่มีการดำเนินคดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 สำนวนสอบสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่กล่าวหาว่าบุคคลเหล่านั้นทุจริตต่อหน้าที่กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดกลับไปดำเนินการทางวินัยซึ่งถือว่าสำนวนการไต่สวนและสอบสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช.เป็นการชี้มูลความผิดไม่ต้องตั้งคณะกรรมการในหน่วยงานนั้นเพื่อดำเนินการซ้ำอีก แต่ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น ไม่มีกฎหมายว่าด้วยวินัย สมควรแก้ไขบทมาตรา 98 เพื่อให้มีการดำเนินการทางกฎหมายเป็นไปโดยเรียบร้อยและเกิดผลดีในทางปฏิบัติ 

Article Details

How to Cite
ภิรมย์ไกรภักดิ์ ไ. ., นามตะ ก. ., & สุวรรณภูมา ส. . (2024). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 : การดำเนินการวินัยของผู้บริหารท้องถิ่นในกรณีที่ ป.ป.ช.ชี้มูลความผิด. วารสารวิจยวิชาการ, 7(3), 381–398. https://doi.org/10.14456/jra.2024.81
บท
บทความวิชาการ

References

กชพัฒน์ บำรุงศรี (2559). คณะกรรมการ ป.ป.ช. กับการป้องกันการทุจริต. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิติศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กระทรวงต่างประเทศ. (2565). ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.). เข้าถึงได้จาก https://acc.mfa.go.th

กัญจนรัตน วิทยาเกียรติเลิศ และคณะ. (2564). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561. (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิติศาสตร์ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

จุมพล รัตธนภาส (2562). อำนาจขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ตามหลักนิติธรรมและนิติรัฐ. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปณิธัศร์ ปทุมวัฒน์. (2553). “อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : United Nations Convention against Corruption 2003” ตอนที่ 3 พันธกรณีในการกำหนดมาตรการบังคับใช้กฎหมายของรัฐภาค. จุลนิติ, 187-198. เข้าถึงได้จาก https://library.senate.go.th

เชิดธวัช ชัยปัน. (2562). คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในการดำเนินการไต่สวนชี้มูลความผิดทางวินัยกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่พ้นจากตำแหน่ง. (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิติศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560. (2560, 20 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 32 ก, หน้า 64-65.

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561. (2561, 21 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 52 ก, หน้า 2-90.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. (2551, 25 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 125 ตอนที่ 22 ก, หน้า 29-39.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก, หน้า 8.

ราชบัณฑิตยสภา. (2555). การดำเนินการทางวินัย. เข้าถึงได้จาก https://dictionary.orst.go.th

ศาลปกครอง. (2566). หมายเลขคดีดำที่ 1314/2564. เข้าถึงได้จาก https://admincourt.go.th

ศิริชัย กาญจนาวาสี และคณะ. (2566). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยด้านการปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2560-2565. (รายงานการวิจัย). สำนักวิจัยและการบริการวิชาการ : สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

สถาบันดำรงราชานุภาพ. (2554). การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการพลเรือนสามัญ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. เข้าถึงได้จาก http://www.stabundamrong.go.th

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2566). ประวัติความเป็นมา. เข้าถึงได้จาก https://www.nacc.go.th

สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. (2562). รวมคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ประจำปี 2562 เล่ม 1. เข้าถึงได้จาก https://www.constitutionalcourt.or.th

แสวง บุญเฉลิมวิภาส และคณะ (2551). รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาพันธกรณีและความพร้อมของประเทศไทยในการปฏิบัติตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต ค.ศ. 2003. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.

หยุด แสงอุทัย. (2538). หลักรัฐธรรมนูญทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน.