ข้อพิจารณาในการเข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ.1946 ของประเทศไทย
กำแพง ล้อมเมือง
คำสำคัญ:
การล่าวาฬเพื่อการค้าและพาณิชย์, การล่าวาฬเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์, การล่าวาฬเพื่อการดำรงชีวิตของกลุ่มชนพื้นเมืองบทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาถึงข้อพิจารณาในการเข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ. 1946 โดยการวิเคราะห์เชิงบรรยายเพื่อทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ วิธีการในการดำเนินการล่าวาฬเพื่อการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการล่าวาฬเพื่อการค้าและพาณิชย์ การล่าวาฬเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และการล่าวาฬเพื่อการดำรงชีวิตของกลุ่มชนพื้นเมือง รวมไปถึงพันธกรณีต่าง ๆ ภายใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ.1946 และพิจารณาเปรียบเทียบกับกฎหมายภายในของประเทศไทยว่ามีความสอดคล้องกันกับข้อกำหนดต่าง ๆ ภายใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ. 1946 มากน้อยเพียงใด อันนำมาซึ่งการกำหนดข้อพิจารณาต่างๆ ในการที่ประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ. 1946 อย่างไรก็ตาม ในระหว่างที่ประเทศไทยยังมิได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎเกณฑ์การล่าวาฬ ค.ศ. 1946 และในอนาคตหากประเทศไทยมีความประสงค์จะเข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศดังกล่าว ประเทศไทยควรเตรียมความพร้อมในหลาย ๆ ประเด็น รวมถึงมีความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภายในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ไว้ซึ่งทรัพยากรวาฬให้มีความสอดคล้องกับข้อกำหนด พันธกรณีแห่งอนุสัญญาดังกล่าว และเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ภายใต้แนวความคิดที่ว่าวาฬเป็นทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันของโลกที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์และป้องกันจากการดำเนินการล่าวาฬในปริมาณที่มากเกินไปกว่าความจำเป็น
References
Australian Research Council's Research Centre’s Program. (2017). Whale Products. Retrieved
June 2017 from http://discovery.kcpc.usyd.edu.au/9.5.1/9.5.1_whale.html.
International Convention for the Regulation of Whaling 1946, Article V Paragraph 1.
International Convention for the Regulation of Whaling 1946, Preamble.
พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558, มาตรา 36.
พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558, มาตรา 48.
International Convention for the Regulation of Whaling 1946, Article I Paragraph 2.
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องกำหนดชนิดสัตว์น้ำที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ที่ห้ามจับหรือนำขึ้น
เรือประมง พ.ศ. 2559, ข้อ2(4)
USA Marine Mammal Protection Actof 1972, U.S. Code § 1362 (12)
ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน ส่วนสื่อสารองค์กร กรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2557), คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนมและ
เต่าทะเลในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. หน้า
ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการอนุญาตให้ทางราชการกระทำการล่า เพาะพันธุ์ ครอบครอง นำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งสัตว์ป่าหรือซากของสัตว์ป่า การเก็บหรือการทำอันตรายทำอันตรายหรือมีไว้ใน
ครอบครองซึ่งรังของสัตว์ป่า และการเรียกเก็บและชำระค่าใช้จ่ายค่าบริการ หรือค่าตอบแทนและราคาสัตว์ป่า
พ.ศ. 2540, ข้อ 4
ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการอนุญาตให้ทางราชการกระทำการล่า เพาะพันธุ์ ครอบครอง นำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งสัตว์ป่าหรือซากของสัตว์ป่า การเก็บหรือการทำอันตรายทำอันตรายหรือมีไว้ใน
ครอบครองซึ่งรังของสัตว์ป่า และการเรียกเก็บและชำระค่าใช้จ่ายค่าบริการ หรือค่าตอบแทนและราคาสัตว์ป่า
พ.ศ. 2540, ข้อ 5.
ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการอนุญาตให้ทางราชการกระทำการล่า เพาะพันธุ์ ครอบครอง นำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งสัตว์ป่าหรือซากของสัตว์ป่า การเก็บหรือการทำอันตรายทำอันตรายหรือมีไว้ใน
ครอบครองซึ่งรังของสัตว์ป่า และการเรียกเก็บและชำระค่าใช้จ่ายค่าบริการ หรือค่าตอบแทนและราคาสัตว์ป่า
พ.ศ. 2540, ข้อ 7.
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (a).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1362 (12).
National Oceanic and Atmospheric Administration. (2020). NOAA Fisheries. Retrieved 24 March 2020 from https://www.noaa.gov/.
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (c)(1).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1362 (10).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (d)(3).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1373 (a).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1373 (b).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1373 (c).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (b)(1).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (b)(2)(A).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (b)(2)(B).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (b)(2)(C).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (b)(2)(D).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1373 (d).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1374 (c)(1).
International Convention for the Regulation of Whaling 1946, Article VIII Paragraph 1.
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1362 (10).
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560, มาตรา 34
ปิยะนุช สว่างแจ้ง. บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญ เรื่อง เสรีภาพทางวิชาการ. สืบค้น 24 มีนาคม 2563, จาก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.
php?nid=159&filename=index.
สุรพจน์ ทวีศักดิ์. เสรีภาพทางวิชาการกับ ‘ความเป็นมนุษย์’. สืบค้น 22 มีนาคม 2563, จาก
https://prachatai.com/journal/2014/09/55707.
ภัทรสุดา วรสาร. (2559). สิทธิในเสรีภาพทางวิชาการ : ศึกษารัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนู
ต่างประเทศ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Dorsey, Kurkpatrick. (2013). Whale & Nation: Environmental Diplomacy on the High Seas.
Seattle, UA: University of Washington Press.
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2562, มาตรา 4 และ มาตรา 9.
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ไทยแลนด์. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. สืบค้น 27 มีนาคม 2563, จาก
https://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/.
Universal Declaration of Human Rights, Article 3
Peter Danchin.(2020). Meaning/Definition the Right to life. Retrieved 27 March 2020 from
http://ccnmtl.columbia.edu/projects/mmt/udhr/article_3/meaning.html
Universal Declaration of Human Rights, Article 17
ฤทธิ์รงค์ สมอุดร. (2536). การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ศึกษาเน้นหนักเฉพาะกรณีขอบเขตของการป้องกัน.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
USA Marine Mammal Protection Act of 1972, U.S. Code § 1371 (a)(4)(A)(ii).
USA Marine Mammal Protection Act of 1972,U.S. Code § 1371 (c).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว