มาตรการทางกฎหมายฟื้นฟูการท่องเที่ยวของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต กรณีการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษามาตรการทางกฎหมายฟื้นฟูการท่องเที่ยวของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต กรณีการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 ถึงปัญหา แนวคิด ทฤษฎี หลักการ กฎหมายไทยและต่างประเทศเกี่ยวกับการฟื้นฟูการท่องเที่ยวและธุรกิจโรงแรม กรณีการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อหาแนวทางการพัฒนากฎหมายในการฟื้นฟูการท่องเที่ยวธุรกิจโรงแรมของจังหวัดภูเก็ต วิธีดำเนินการวิจัยเป็นเชิงคุณภาพประกอบเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการฟื้นฟูและเยียวยาการท่องเที่ยวธุรกิจโรงแรม ภาครัฐได้
มีการดำเนินการออกมาตรการบรรเทาความเดือดร้อนผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมอย่างเร่งด่วน ครอบคลุมด้านการเงิน การลดหย่อนภาษีและลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พร้อมกระตุ้นการท่องเที่ยวโดยสนับสนุนค่าโรงแรมร้อยละ 40 ของราคาห้องพักให้นักท่องเที่ยวได้บริการ
แต่มาตรการเยียวยาธุรกิจโรงแรมนี้ของรัฐเพียงระยะเวลาสั้น การฟื้นฟูและเยียวยาธุรกิจโรงแรมเป็นเพียงนโยบายของรัฐเท่านั้น แต่ไม่มีกฎหมายใดมารองรับมาตรการที่ออกมาฟื้นฟูและเยียวธุรกิจโรงแรมแต่อย่างใด
เสนอแนะให้มีมาตรการฟื้นฟูและเยียวยาธุรกิจโรงแรมเพื่อรองรับกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในระยะยาว ด้วยเหตุที่ธุรกิจโรงแรมเป็นหัวใจสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างรายได้ให้กับประเทศ เห็นควรแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2547 โดยเพิ่มเติม มาตรา 39/1 เรื่องการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูและเยียวยาธุรกิจโรงแรม และมาตรา 39/2 เรื่องการจดทะเบียนธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กได้รับตราสัญลักษณ์ SHA มาตรฐานความปลอดภัยให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ให้บริการแก่นักท่องเที่ยวกับบริบทใหม่หลัง COVID-19 ลดลงอย่างยั่งยืน
References
นวพร บุญประสม. (2559). มิติใหม่แห่งการท่องเที่ยว เพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้หญิงโสด. SOUTHEAST BANGKOK JOURNAL. 2(2), 124–132.
อรุณ ศิริจานุสรณ์. (2564). EEC : กับแนวโน้มธุรกิจอุตสาหกรรม ปี 2562-2564 กลุ่มธุรกิจ
โรงแรม. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/ business/ economic/972631
,22] กฎกระทรวงกําหนดประเภทและหลักเกณฑการประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551, (2551, 23 พฤษภาคม) ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125, ตอนที่ 70 ก. หน้า 7-13.
,12,20] พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ.2547, (2547, 12 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121, ตอนพิเศษ 70 ก. หน้า 12-32.
ไทยพีบีเอส. (2563). วันที่ไทยรู้จัก COVID-19. Thai PBS. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/290347
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถิติการท่องเที่ยวและกีฬา. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2565,
จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/17.aspx
สยามรัฐ. (2563). โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยเป็นอันดับหนึ่งของ โลก.[Online]. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2564, จาก https://siamrath.co.th/n/146002
Brand Buffet. (2563). ท่องเที่ยว “ภูเก็ต” เจ็บหนัก พึ่งรายได้ต่างชาติ 80% เมื่อน่านฟ้ายังปิด โควิดทำเสี่ยงตกงาน 5 หมื่นคน. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564, จาก https://www.brand buffet.in.th/2020/09/phuket-tourism-industry-impact-of-covid19/.
ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1). (2563, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137, ตอนพิเศษ 69 ง. หน้า 10-16.
,24] พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ.2551, (2551, 5 กุมภาพันธ์).
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125, ตอนที่ 28 ก. หน้า 20-32.
,19,23] สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2562). สรุปสาระสำคัญแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2564, จากhttp://nscr.nesdb.go.th/wp-content/ uploads/2019/12.สรุปแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาตร์ชาติ.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). มาตรการทางการเงินเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจ (สินเชื่อฟื้นฟู). สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2564, จาก https://www.bot.or.th/covid19/ content /sme/Pages/fin-rehab.aspx
จังหวัดภูเก็ต. (2563, 2564). คำสั่ง หนังสือสั่งการ ประกาศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ภูเก็ต. ภูเก็ต. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2564, จาก https://www.phuket.go.th/ webpk/ contents.php?str=COVID-19
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542, (2542, 10 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา,เล่ม 116, ตอนที่ 63 ง. หน้า 24-31.
พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจ
และสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563,
(2563, 19 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 137, ตอนที่ 30 ก. หน้า 1-5.
พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจาก
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563, (2563, 19 เมษายน).
ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 137, ตอนที่ 30 ก. หน้า 6-11.
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563b). สถานการณ์การท่องเที่ยว เดือนมิถุนายน 2563. กรุงเทพ : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2564, จาก https://www.mots.go.th/download/article/article_20200729155418.pdf
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2565). ยกเครื่องกฎหมายโรงแรม ต่อลมหายใจ โรงแรมขนาดเล็ก. กรุงเทพ : กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/columnist/992894
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา,
เล่ม 134, ตอนที่ 40 ก. หน้า 1 – 90.
Act for the Development of Tourism—Article Content—Laws & Regulations
Database of The Republic of China (Taiwan). (2565). สืบค้นเมื่อวันที่ 9 เมษายน
, จาก https://law.moj.gov.tw/ENG/LawClass/LawAll.aspx?Pcode=K0110001
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว