แนวทางการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย
คำสำคัญ:
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา, ยุติธรรม, หลักธรรมาภิบาลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้นหาแนวทางในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย ให้มีความยุติธรรมตามคาดหวังของประชาชนที่ต้องการเห็นกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่มีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้ง่าย ซึ่งกระบวนการยุติธรรมที่ดีต้องมีลักษณะ
ที่ยึดการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ใช้วิธีการที่ถูกต้องตามกฎหมายและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ
ของประชาชน มีความเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ มีความเป็นอิสระไม่ถูกครอบงำจากผู้บังคับบัญชาภายในองค์กร ฝ่ายการเมือง หรือผู้มีอำนาจภายนอกองค์กร เป็นกระบวนการที่ดำเนินการด้วยความรวดเร็ว ไม่ล่าช้า ถูกต้อง เป็นธรรม โปร่งใสและตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานที่สอดคล้องตามมาตรฐานสากลและก้าวทัน
ต่อการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย เพื่อให้เป็นกระบวนการยุติธรรมที่ดี มีประสิทธิภาพ จึงควรมีการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทยตามแนวทางลักษณะกระบวนการยุติธรรมที่ดี คือ พัฒนา
องค์ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงานโดยการจัดเก็บระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้อย่างเป็นระบบสามารถนำมาใช้ได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ นำทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญามาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม มีการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตใจแห่งการให้บริการโดยนำหลักหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงาน และการพัฒนาการศึกษานิติศาสตร์ ให้มีการศึกษากฎหมายในฐานะของศาสตร์ที่ใช้แก้ปัญหาสังคม และให้บัณฑิตทางนิติศาสตร์ศึกษาวิชาการบริหารกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้มีพื้นฐานความรู้ด้านกระบวนการยุติธรรมด้วย พัฒนาระบบสวัสดิการและค่าตอบแทนให้เหมาะสม พัฒนาการป้องกันการถูกแทรกแซงจากผู้มีอำนาจเพื่อให้บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมได้รับความเป็นธรรมและมีขวัญกำลังใจ ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน และการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย เป็นต้น
References
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 2-3
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 13-15
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 64
นพนิธิ สุริยะ. (2537). สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน, หน้า 114-139
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 64-66
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซร์ จำกัด, หน้า 23-25
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 29-30
บุญร่วม เทียมจันทร์, ศรัญญา วิชชาธรรม. (2562). รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 . กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ THE LAW GROUP, หน้า 156
บุญร่วม เทียมจันทร์, ศรัญญา วิชชาธรรม. (2562). รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 . กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ THE LAW GROUP, หน้า 207
พระราชกฤษฎีกาโอนกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ไปจัดตั้งเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2541 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 73 ก หน้า 15
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกระมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรารม พ.ศ.2545 ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนที่ 103 ก ลง 9 ตุลาคม 2545
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 24-25
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 29-30
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 29-30
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 57-59
มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา. (2543). ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซน์ จำกัด, หน้า 59
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 87
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 145/1
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 146
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 188
คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ. ข้อเสนอเบื้องต้นในการพัฒนาระบบงานตำรวจ. 30 มีนาคม 2550. หน้า 9
อารี รุ่งพรทวีรัตน์. (2527). การบังคับใช้กฎหมายอาญาโดยกระบวนการยุติธรรมในประเทศไทย วิทยานิพนธ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 66-75
คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ. ข้อเสนอเบื้องต้นในการพัฒนาระบบงานตำรวจ. 30 มีนาคม 2550. หน้า 9
ชนะศักดิ์ ยุวะบูรณ์. (2543). กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดีในการปกครองที่ดี Goof Governance. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, หน้า 3-12
สรรเสริญ อินทรัตน์. (2550). กลยุทธ์การบริหารจัดการตามกระบวนทัศน์ธรรมาภิบาลในองค์การบริหารส่วนตำบล กรณีศึกษาเฉพาะในเขตจังหวัดภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, หน้า 49
ศุภกิจ แย้มประชา. (2558). มองกระบวนการยุติธรรามทางอาญาไทยผ่านศึกษาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจริญรัฐการพิมพ์, หน้า 180-181
ศุภกิจ แย้มประชา.(2558). มองกระบวนการยุติธรรามทางอาญาไทยผ่านศึกษาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน จำกัด เจริญรัฐการพิมพ์, หน้า 182
พระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2565 มาตรา 14
พระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2565 มาตรา 22
พระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2565 มาตรา 33
พระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2565 มาตรา 43
พระราชบัญญัติ องค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 มาตรา 4
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543
สุพจน์ ณ บางช้าง.พล.ต.ต. (2548). กระบวนการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ.พี.กราฟฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด, หน้า 14
อยุทธ เพชรอินทร.พ.ต.ต. (2542). ตำรวจกับการเมืองไทย. นครปฐม: โ รงเรียนนายร้อยตำรวจ, หน้า 19
สิริวัฒน์ เมนะเศวต.พ.ต.ท. (2543). การเมืองกับการปรับโครงสร้างกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, หน้า 206
ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 141 ตอนที่ 19 ก 5 เมษายน 2567 กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ พ.ศ. 2567 ข้อ 47
ศุภกิจ แย้มประชา. (2558). มองกระบวนการยุติธรรามทางอาญาไทยผ่านศึกษาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน จำกัด เจริญรัฐการพิมพ์, หน้า 16
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว