การศึกษาเปรียบเทียบปัญหาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษและภาษาไทย: ความเหมือนและความแตกต่าง

Main Article Content

อาทิตย์ ถมมา
กิตติพัฒน์ ทาวงศ์ษา
ณัฐรัชต์ สถิตอริยวาณิช

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของเสียงพยัญชนะระหว่างภาษาอังกฤษกับภาษาไทยและวิเคราะห์สาเหตุ (ปัญหา) การออกเสียงผิดพลาดของภาษาอังกฤษโดยคนไทย โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ประกอบไปด้วย หนังสือภาษาศาสตร์ บทความวิจัย และแหล่งข้อมูลทางเว็บไซต์ เป็นการวิเคราะห์ตามหลักสัทศาสตร์การออกเสียงและเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของทั้งสองภาษา ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่าคนไทยส่วนใหญ่มีปัญหาการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะเสียงที่เกิดจากเสียงเสียดแทรก เสียงระเบิด เสียงกึ่งเสียดแทรกและเสียงเปิด ตามลำดับ เนื่องจากเสียงภาษาอังกฤษบางเสียงไม่ปรากฏในระบบเสียงภาษาไทย ทำให้คนไทยส่วนใหญ่เกิดความเข้าใจผิดและเลียนแบบการออกเสียงผิด เมื่อได้ยินเสียงคล้ายคลึงกับเสียงในภาษาไทย


 

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

กิตติพัฒน์ ทาวงศ์ษา, Mahamakut Buddhist University, Sri Lanchang Campus, Thailand

Mahamakut Buddhist University, Sri Lanchang Campus, Thailand

ณัฐรัชต์ สถิตอริยวาณิช , Mahaculalongkornrajavidyalaya University, Thailand

Mahaculalongkornrajavidyalaya University, Thailand

References

กาญจนา นาคสกุล. (2541). ระบบเสียงภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. โครงการตำราคณะอักษร
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถิรวัฒน์ ตันทนิส. (2555). การศึกษาปัญหาการออกเสียงภาษาอังกฤษและกลวิธีการเรียน
การออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาสหวิทยาการ ชั้นปีที่ 3, มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์. Language and Linguistics, 31(1), 81-102. Retrieved from
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/10764
ปรารมภ์รัตน์ โชติกเสถียร. (2552). การออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ.
พิมพ์ครั้งที่ 7. ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาทิตย์ ถมมา, อัมราภรณ์ หนูยอดและวิโรจน์ ทองปลิว. (2563). การศึกษาภาษาโจว (ภาษา
ท้องถิ่น) เมืองโมเรห์ (เขตชายแดน) อำเภอเต็งเนาเปิล รัฐมาณิปูร์ ประเทศอินเดีย.
รายงานการประชุมระดับชาติราชภัฏเลยวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่นภายใต้ยุคแห่งการ
เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 25 มีนาคม 2563. หน้า 1000.
Jones, D. (1922). An outline of English phonetics. New York. G.E. Stechert & Co.
Printed in Austria.
Ladefoged, P.(2549). สัทศาสตร์ (Course in Phonetics). แปลโดย อภิลักษณ์ ธรรมทวี-
ธิกุล. กรุงเทพฯ : Thomsom Learning.
Ladefoged, P.(2005). Vowels and consonants: an introduction to languages.
2nd Edition. Blackwell Publishers Ltd.
Patthamawadee N. & Bhornsawan I. (2017). English Consonant Pronunciation
Problems of EFL Students: A Survey of EFL Students at Mae Fah Luang University.“Creativity, Innovation, and Smart Culture for the Better Society”. The 6th Burapha University International Conference 20017. 3-4 August 2017. Pages 185-197.
Roach, P. (2009). English phonetics and phonology: A practical course. 4th
Edition. Cambridge: Cambridge University Press.
Siyaphai, w. (2013) Thai linguistics. 2ndedition. Sampachanya publish press.
Thailand.
Thomma, A. & Pramodini, N. D. (2020). Challenges of learning English
consonants by Thai speakers. 6th National Language Conference-2020. 23-26 February 2020. Sambalpur University & Institute of Odia Studies and Research (India).
Timyam, N. (2015) A comparative study of English and Thai: An introduction.
Kasetsart University Press.
https://en.wikipedia.org/wiki/Indo-European_languages https://www.britannica.com/topic/Tibeto-Burman-languages