การจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนาด้วยปาฏิหาริยธรรมเทศนา

Main Article Content

พระปลัดยี่แก้ว ธมฺมจาโร (สมงาม)
สมชัย ศรีนอก
สมควร นามสีฐาน

บทคัดย่อ

            พระพุทธศาสนาได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษาอย่างแท้จริง เพราะให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ของมนุษย์ และมีหลักการสำคัญที่เอื้อต่อการพัฒนาและช่วยส่งเสริมมนุษย์ทุกคนไปสู่ความสมบูรณ์แบบในชีวิตโดยอาศัยการฝึกหัดหรือศึกษาเรียนรู้เป็นพื้นฐานสำคัญ บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนาด้วยปาฏิหาริยธรรมเทศนาซึ่งเป็นนวัตกรรมการเพื่อให้เข้าถึงวิชาพระพุทธศาสนาต้องเลือกให้เหมาะสมกับเนื้อหา การใช้สื่อการสอนจะยึดตามหลักปาฏิหาริย์ 3 คือ 1) อิทธิปาฏิหาริย์ คือ การแสดงฤทธิ์ได้เป็นอัศจรรย์ เพื่อให้เขาเข้าใจธรรมะเปรียบได้กับสื่อเสมือน หรือสื่อสามมิติ และโฮโรแกรมในปัจจุบัน 2) อาเทศนาปาฏิหาริย์ คือ การทายใจ รอบรู้กระบวนของจิต บอกสภาพของจิต ความคิด อุปนิสัยได้ถูกต้อง  3) อนุสาสนีปาฏิหาริย์ คือ สื่อบุคคล เพราะบุคคลเป็นเหตุแห่งศรัทธาจากบุคคลอื่นได้

Article Details

บท
Articles

References

พระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2540). เรื่องเหนือสามัญวิสัย อิทธิปาฏิหาริย์-เทวดา.

กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก.

พระมหาเอกชัย วิสุทฺโธ (โครตรสุนทร). (2564). พุทธวิธีในการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21.

วารสาร Journal of Buddhist Education and Research : JBER. 7(2) (พฤษภาคม-

สิงหาคม): 300-310.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วศิน อินทสระ และ ไชย ณ พล. (2538). พุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ การประกาศธรรม

สู่โลกกว้าง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันธรรมาธิปไตย.