พัฒนาการเกิดของมนุษย์ในอัคคัญญสูตร
คำสำคัญ:
พัฒนาการเกิด, อัคคัญญสูตรบทคัดย่อ
บทความนี้ มุ่งเสนอพัฒนาการของมนุษย์ในอัคคัญญสูตร พัฒนาการเกิดของมนุษย์โดยการกำเนิดจากพรหมที่หมดบุญหรือสิ้นอายุขัยจากชั้นอาภัสสรพรหมมาเป็นมนุษย์ในยุคแรกนี้ เป็นการเกิดเองโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ เกิดแล้วก็โตเต็มวัยทันทีเรียกว่าที่กาย เป็นอุปปาติกะ สัตว์เกิดขึ้นด้วยอำนาจจิต มีกายโปร่งแสง กินปีติเป็นอาหาร ต่อมาได้ปริโภคง้วนดิน จนถึงข้าวสาลี ตามลำดับ ทำให้สภาพทางร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะอาหารที่กินเข้าไปและเกิดมีความคิดที่แตกต่างกัน ส่งผลทำให้มนุษย์มีอวัยวะเพศต่างกัน และได้มีการพัฒนาในแต่ละด้านจนถึงปัจจุบัน
References
นาคะประทีป. (2532). ปาลี-สยาม อภิธาน. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาการศึกษา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ปอ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 26). กรุงเทพฯ: เพ็ทแอนด์โฮม.
พระแมน ฐิตฺเมโธ. (2561). ธรรมชาติของมนุษย์ในทัศนะของพุทธทาสภิกขุ. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เพ็ญแข กิตติศักดิ์. (2522). การศึกษาเชิงวิเคราะห์ความคิดเรื่องจักวาลวิทยาในพระพุทธศาสนาตามที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมบูรณ์ ตาสนธิ. (2560). ศึกษาวิเคราะห์รูปในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 13(2), 23-37.
หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธัช ป.9). (2540). ธาตุปฺปทีปิกา. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
Boyd, Robert, Silk, Joan B. (2003). How Humans Evolved. New York: Norton.