ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คำสำคัญ:
บุคลิกภาพบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพการสังเกตและสงสัย เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก จำนวน 254 คน โดยเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามชั้นปีของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามเกี่ยวกับบุคลิกภาพการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีและวิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญระหว่างบุคลิกภาพการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แสดงให้เห็นว่า การมีบุคลิกภาพด้านความสงสัยและรอบคอบ ด้านการไตร่ตรองพิจารณาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ด้านความเชื่อมั่นในข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ และด้านความเชื่อมั่นในตนเอง ส่งผลให้นักศึกษามีผลการเรียนสะสมที่เพิ่มขึ้น
Downloads
References
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ,18, 375-396.
วรวิทย์ เลาหะเมทนี. (2559). อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านจริยธรรมความรอบคอบระมัดระวังเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพและการสอบทานด้วยความสงสัย: หลักฐานเชิงประจักษ์จากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 43-53.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. 2557. มาตรฐานการสอบบัญชีรหัส200 วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี. สืบค้นจากhttps://acpro-std.tfac.or.th/uploads/files/TSA/2557_TSA200.pdf.
สวัสดิ์ หากิน และ วรวิทย์ เลาหะเมทนี. (2561). โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระตามความเป็นจริงกับ การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพและการรายงานอย่างมีจริยธรรม: การศึกษาเชิงประจักษ์จากผู้สอบบัญชี รับอนุญาตในประเทศไทย. Journal of Modern Management Science, 11(2), 25-41.
สุธาทิพย์ กลีบบัว และคณะ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบกับการควบคุมตนเองของเยาวชนที่กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด. วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. Academic services Journal, Prince of Songkla University, 30(1), 189-199.
สุนิสา บุญคล่อง และ ญาณกร วรากุลรักษ์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์นิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี. Journal of Pacific Institute of Management Science (Humanities and Social Science), 4(2), 302-312.
Brahmakasikara, L. (2013). Learning styles and academic achievement of English III students at assumption University of Thailand. ABAC Journal, 33(3), 41-52.
Ciolek, M. (2018). Search for knowledge and professional skepticism of accounting students-an experimental study. Prace Naukowe Uniwersytetu Ekonomicznego we Wroclawiu, (515), 243-256.
Dibabe, T. M., Wubie, A. W., & Wondmagegn, G. A. (2015). Factors that affect students’ career choice in accounting: A case of Bahir Dar University students. Research Journal of Finance and Accounting, 6(5), 146-153.
Eyong, E. I., David, B. E., & Umoh, A. J. (2014). The influence of personality trait on the academic performance of secondary school students in Cross River State, Nigeria. IOSR Journal of Humanities and Social Science, 19(3), 12-19.
Holford, W.D. (2019). The Future of Human Creative Knowledge Work within the Digital Economy, Futures, 105, 143–154.
Joubert, C. P. (2015). The relationship between procrastination and academic achievement of high school learners in North West province, South Africa, Doctoral dissertation, University of South Africa).
Kirkagac, S., & Öz, H. (2017). The Role of Big Five Personality Traits in Predicting Prospective EFL Teachers' Academic Achievement. Online Submission, 4(4), 317-328.
Nolder, C. J., & Kadous, K. (2018). Grounding the professional skepticism construct in mindset and attitude theory: A way forward. Accounting, Organizations and Society, 67, 1-14.
Nunnally, J.C. and Bernstein, I.H. (1994). The Assessment of Reliability. Psychometric Theory, 3, 248-292.
Pornsakulvanich, V., Dumrongsiri, N., Sajampun, P., Sornsri, S., John, S. P., Sriyabhand, T., & Jiradilok, S. (2012). An analysis of personality traits and learning styles as predictors of academic performance. ABAC Journal, 32(3), 1-19.
Quadackers, L., Groot, T., & Wright, A. (2014). Auditors’ professional skepticism: Neutrality versus presumptive doubt. Contemporary accounting research, 31(3), 639 -657.
Rai, D., & Khanal, Y. K. (2017). Emotional Intelligence and Emotional maturity and their relationship with academic achievement of college students in Sikkim. International Journal of Education and Psychological Research, 6(2), 1-5.
Sorić, I., Penezić, Z., & Burić, I. (2017). The Big Five personality traits, goal orientations, and academic achievement. Learning and individual differences, 54, 126-134.
Wangcharoendate, S. (2013). Roles of Accountants as Chief Financial Officers. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST), 12(2), 51-56.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว