การพัฒนารูปแบบศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้บริการเทียบเท่ามาตรฐานสากล

ผู้แต่ง

  • กฤษฎา ภูมี kristda poomee
  • ณัฐดนัย สิงห์คลีวรรณ
  • นุกูล สาระวงศ์
  • สมบัติ ทีฆทรัพย์
  • เอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ
  • สุพจน์ เตชวรสินสกุล

คำสำคัญ:

วัสดุวิศวกรรมโยธา, สมรรถนะการให้บริการ, พัฒนารูปแบบ

บทคัดย่อ

งานศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการให้เป็นที่ยอมรับทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศเป็นการยกระดับศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธา ให้เป็นที่รู้จักมีความเป็นเลิศทางด้านการทดสอบวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในงานวิศวกรรมโยธา และการสอบเทียบ เพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้บริการเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยการดำเนินงานที่เป็นระบบมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดความมั่นใจคุณภาพและความน่าเชื่อถือในรายงานผลการทดสอบวัสดุ จากห้องปฏิบัติการให้กับผู้มาขอรับบริการทดสอบวัสดุ ศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาจึงต้องปรับตัวเข้าสู่การพัฒนารูปแบบศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้บริการเทียบเท่า ให้มีการพัฒนาการปฏิบัติงานทางด้านมาตรฐานการทดสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้มีการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อันจะเป็นแนวทางให้ก้าวเข้าสู่การพัฒนารูปแบบศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้บริการระดับมาตรฐานสากล ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงระยะก่อนการพัฒนารายได้ศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาอยู่ที่ 11ล้านบาทเศษต่อปี กับในช่วงปี 2565 ที่ได้มีการพัฒนารูปแบบศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธาแล้ว รายได้ค่าธรรมเนียมทดสอบวัสดุได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ ที่13ล้านบาทเศษต่อปี ซึ่งสอดคล้องกับค่าสำรวจความพึงพอใจจากผู้มาขอรับบริการทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธา ที่มีเปอร์เซ็นต์ค่าความพึงพอใจ ทั้งในด้านคุณภาพการทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธา และในด้านคุณภาพการบริการสูงเกินกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ทุกข้อคำถามการสำรวจความพึงพอใจจากบริษัทลูกค้าที่เข้ามารับบริการทดสอบวัสดุจากศูนย์ทดสอบวัสดุวิศวกรรมโยธา

Downloads

Download data is not yet available.

References

Arnold Kenneth L. (1994). The manager,s guide to ISO 9000. New York:

The Free Press.

David C. Mcclelland (2557). Testing for Competence Rather Than for Intelligence.

Jonson Perry L. ( 1993 ). ISO 9000 Meeting The New International Standards. Singapore:MeGraw-Hill.

Raj, Madhu. (1996). Encyclopaedic dictionary of psychology andeducation. Volumn 3 (M-Z). New Delhi : ANMOL Publications PVT.

Steiner, Elizabeth. 1990). Educology. Bloomington Indiana : Indiana University Press., (1988). Educology. Sydney :NSW

Internation Organization for Standardzation. ISO Menbers. www. ISO. Org.

Keeves, John.P.(1988).Education research and methodology, and measurement : An international handbook. Oxford : Pergamon Press.

ISO/IEC (17025-2005). General requirements for the competence of testing and calibration laboratories

ISO 9001 : (1994). Quality systems Model for quality assurance in design, development, production installation and servicing.

ISO 9002 : (1994). Quality systems - Model for quality assurance in production, installation and servicing.

ISO/IEC Guide 2, General terms and their definitions concerning standardization and related activities. VIM, International vocabulary of basic and general terms in metrology, issued by BIPM, IEC, IFCC, ISO, IUPAC, IUPAP and OIML.

กรมโยธาธิการและผังเมือง, การให้บริการทดสอบ คุณภาพวัสดุก่อสร้าง : 2555

กรมวิทยาศาสตรบริการ. (2562). คุณภาพและบริการการใช้มาตรฐานแห่งชาติ. วารสารทางวิชาการกระทรวง อุตสาหกรรม.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. ( 2562 ). การขายและ การตลาด. วารสารทางวิชาการกระทรวงอุตสาหกรรม.

กมเลศน์ สันติเวชกุล และ พัชสิรี ชมภูคำ.( 2549 ). มาตรฐานการพัฒนาคน CU. งานวิจัยทาง วิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไกลลาศ ดอนชัย, นพรัตน์ เตชะพันธ์รัตนกุล, ปาริชาติ บัวเจริญ. (2561). การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพตามมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน สาขางานช่างเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ สถานการณ์ แนวโน้ม วิสัยทัศน์ และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ.

ดิเรก ฤกษ์สาหร่าย (2558). ความพึงพอใจ

รัตนิตา เลียงลิลา. (2559). การพัฒนามาตรฐานการบริหารของธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการ บัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิษถ์.

บรรจง จันทมาศ. (2542). ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000:2000. พิมพ์ครั้งที่15. กรุงเทพฯ สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์. (2551). การบริหารการจัดการโครงการพัฒนาสังคมแบบก้าวหน้า. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรรณราย เทียมทัน. (2454). การศึกษาการพัฒนา สมรรถนะในการบริการองค์กรด้วยระบบ การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

หน่วยทดสอบวัสดุ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา.(2557). คู่มือคุณภาพ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.(2557).วัสดุช่างอุตสาหกรรม. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี.

นุกูล สาระวงศ์. (2555). รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีการผลิตสำหรับอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่มขนาดกลางและ ขนาดย่อมใน ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ชูชาติ วิรเศรณี. (2542). ISO 9000 สำหรับนักบริหารมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ชุดาภัค เดชพันธ์. (2555). การพัฒนาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ตามเกณฑ์ 75/75 เรื่อง การวางแผนงาน ก่อสร้างด้วยโปรแกรม Moodle. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา.

ธีระพันธ์ พลมณี. (2544). การจัดทำระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO9001: กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลก.

ธนาดล มหิธนาลัย, อุตสาหกรรม ปี 2564-2566. ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง: (2564)

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐, แผนยุทธศาสตร์ชาติ ประเทศไทย. (2561).

บุญชม ศรีสะอาด. (2552). การพัฒนาการวิจัยโดยใช้รูปแบบ. ค้นเมื่อ วันที่ 15 กันยายน2565. www.edu.msu.ac.th

ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาล. (2552). ISO 9001:2008 กับการบริหารงานบุคคลและฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ปิยพงศ์ พันโกศล. ( 2555). รูปแบบการพัฒนาศูนย์การศึกษาของกองทัพบกสู่การเป็นองค์กร สมรรถนะสูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

รังสรรค์ อินทร์จันทร์. (2552). การบริหารสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (Sustained Success). www.businessacumen.co.th.

เรื่องวิทย์ เกษสุวรรณ. (2545). การจัดการคุณภาพ : จาก TQC ถึง TQM, ISO 9000 และการประกันคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

วรภัทร์ ภูเจริญ และโศภณา หิรัญบูรณะ. (2545). คู่มือ ISO 9001:2000 สำหรับผู้บริหาร

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สุวีริยสารส์. การศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).

ภาณุ ชื่นธวัช. ( 2548 ). การปรับปรุงระบบบริหาร ห้องปฏิบัติการสำหรับศูนย์วิจัยวัสดุและอุปกรณ์ทางการกีฬา ตามแนวทางมาตรฐาน มอก.17025. วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, อุตสาหกรรมก่อสร้างไทยปี 2562 กับเทรนด์เทคโนโลยีที่ใช้ในงานก่อสร้าง. (2562).

ศรัญญา อิสรรักษ์ (2559). การพัฒนาเศรษฐกิจ. ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2549). มาตรฐานตัวบ่งชี้และเกณฑ์การพิจารณาเพื่อ การประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบที่ 2 ( 2549 – 2553). กรุงเทพฯ:สำนักงานฯ.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-19