การปนเปื้อนบาซิลลัส ซีเรียส ในเส้นขนมจีนที่จำหน่ายในตลาดสด กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ปิยะรัตน์ จิตรภิรมย์ ฺฺBansomdej Rajabhat University
  • กิจจา จิตรภิรมย์
  • แพร สายบัวแดง

คำสำคัญ:

ขนมจีน, ตลาดสด, บาซิลลัส ซีเรียส

บทคัดย่อ

การปนเปื้อนเชื้อก่อโรคในอาหารยังคงเป็นปัญหาทางสุขภาพในลำดับต้น ๆ ของประเทศไทยและในระดับโลก วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อสำรวจการปนเปื้อนของจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดและ บาซิลลัส ซีเรียส ในตัวอย่างขนมจีนรวมทั้งสิ้น 50 ตัวอย่าง ซึ่งวางจำหน่ายในตลาดสดจำนวน 10 แห่งในกรุงเทพมหานคร โดยตัวอย่างที่เก็บได้จะถูกนำส่ง เพาะเลี้ยงและตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธีมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา นำเสนอข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาได้แก่ จำนวน ร้อยละ และพิสัยเป็นต้น

ผลการศึกษาพบว่าตัวอย่างขนมจีนมีจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดอยู่ระหว่าง <2.5x103 - >5.7x106 CFU/g และสามารถตรวจพบการปนเปื้อนเชื้อ Bacillus cereus จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 24.0) ซึ่งพบการปนเปื้อนสูงสุดที่ระดับ 290 CFU/g  ผลการศึกษาครั้งนี้ช่วยกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสำคัญในการติดตาม การเฝ้าระวังการปนเปื้อนในอาหารที่คาดว่าจะมีความเสี่ยง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการควบคุมป้องกันการแพร่กระจายของเชื้ออันส่งผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมควบคุมโรค. (2565). กรมควบคุมโรค เตือนประชาชน ช่วงนี้ระวังป่วย"โรคอาหารเป็นพิษ". ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.nationtv.tv/news/378857623.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2556). DMSc F 2001: วิธีตรวจวิเคราะห์ Bacillus cereus ในอาหาร. ใน วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์อาหาร เล่มที่ 1. (น. 111-130). นนทบุรี: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2557). DMSc F 2014: วิธีตรวจวิเคราะห์จำนวนจุลินทรีย์ หรือแบคทีเรีย ทั้งหมดในน้ำและน้ำแข็งโดยวิธี pour plate และspread plate. ใน วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์อาหาร เล่มที่ 2. (น. 187-192). กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2560). เกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหาร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: บริษัทพีทู ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ จำกัด.

กิจจา จิตรภิรมย์, จันทร์จิรา ปินไชย, วิชุดา จันทะศิลป์, บุญส่ง ไข่เกษ, และปิยะรัตน์ จิตรภิรมย์. (2559). การปนเปื้อนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการปนเปื้อน สแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส และบาซิลลัส ซีเรียส จากซูชิตามร้านค้าแผงลอยบางแห่งในกรุงเทพมหานคร. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 16(2), 39-55.

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย. (2564). การศึกษาความปลอดภัยในการบริโภคขนมจีนน้ำยาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2566, จากhttp://foodsanitation.bangkok. go.th/assets/uploads/document/document/20210122_ 59875.pdf.

ณัฐพร จันทร์ฉาย. (2558). การผลิตขนมจีนเส้นหมักด้วยหัวเชื้อบริสุทธิ์ของ ชุมชนบ้านแม่ยางโพธิ์ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 3(2), 141-149.

พรพรรณ พัวไพบูลย์. (2561). การพัฒนาขนมจีนแป้งหมักด้วยกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติกผลิตแบคเทอริโอซิน และประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อ Bacillus cereus ที่ปนเปื้อนในขนมจีน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วิไลวรรณ หงอกพิสัย, ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ, อพัชชา จินดาประเสริฐ, วริพัส อารีกุล, และอดิศร เสวตวิวัฒน์. (2555). การศึกษาคุณภาพและความปลอดภัยของขนมจีน. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว, 28(1), 122-134.

ศสินี แสงสว่าง, และดาริวรรณ เศรษฐีธรรม. (2556). การประยุกต์ใช้ระบบวิเคราะห์อันตรายและวิกฤต (HACCP) ในการบวนการผลิตขนมจีนกรณีศึกษาอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น. KKU Journal of Public Health Research, 6(1), 163-172.

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. (2556). ร่างแผนการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556-2560. ค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://thaipublica.org/wp-content/uploads/2016/07/ plan-กรุงเทพฯ-2556-2560.pdf.

สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2555). ข้อกำหนดการใช้วัตถุเจือปนอาหารตามมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซ์ (General Standard for Food Additives: GSFA 2012). (น. 62-146). นนทบุรี : มปท.

Arnesen, L. P. S., Fagerlund, A., & Granum, P. E. (2008). From soil to gut: Bacillus cereus and its food poisoning toxins. FEMS Microbiology Reviews, 32(4), 579-606.

Bottone, E. J. (2010). B. cereus, a volatile human pathogen. Clinical Microbiology Reviews, 23(2), 382-398.

Buchanan, R. L., & ONI, R. (2012). Use of Microbiological Indicators for Assessing Hygiene Controls for the Manufacture of Powdered Infant Formula. Journal of Food Protection, 75(5), 989-997.

Eric, A. J. (1990). Foodborne diseases. London: Academic Press, Inc.

Fenlon, D. R. (1999). Listeria monocytogenes in the natural environment. In Ryser, E. T., & Marth, E. H. (Eds.), Listeria, listeriosis and food safety (2nd ed.). (pp. 21-37). New York: Marcel Dekker Inc.

Granum, P. E. (1997). Bacillus cereus. In Doyle, M., Beuchat, L., & Montville, T. (Eds.), Fundamentals in Food Microbiology. (pp. 327-336). Washington, DC: ASM Press.

Granum, P. E., & Lund, T. (2006). Bacillus cereus and its food poisoning toxins. FEMS Microbiology Letters, 157(2), 223-228.

Hölzel, C. S., Tetens, J. L., & Schwaiger, K. (2018). Unraveling the Role of Vegetables in Spreading Antimicrobial-Resistant Bacteria: A Need for Quantitative Risk Assessment. Foodborne Pathogens and Disease, 15(11), 671-688.

Jackson, S. G, Goodbrand, R. B., Ahmed, R., & Kasatiya, S. (1995). B. cereus and Bacillus thuringiensis isolated in a gastroenteritis outbreak investigation. Letters in Applied Microbiology, 21(2), 103-105.

Kotiranta, A., Lounatmaa, K., & Haapasalo, M. (2000). Epidemiology and pathogenesis of Bacillus cereus infections. Microbes and Infection, 2(2), 189-198.

Kramer, J. M., & Gilbert, R. J. (1989). Bacillus cereus and other Bacillus species. In Doyle, M. P. (Ed.), Foodborne Bacterial Pathogens. (pp. 21-50). New York: Marcel Dekker Inc.

Martinez, S., Borrajo, R., Franco, I., & Carballo, J. (2007). Effect of environment parameter on growth Kinetics of Bacillus cereus (ATCC 7004) after mild heat treatment. International Journal of Food Microbiology, 117(2), 223-227.

Mengistu, D. A., & Tolera, S. T. (2020). Prevalence of Microorganisms of Public Health Significance in Ready-to-Eat Foods Sold in Developing Countries: Systematic Review and Meta-Analysis. International Journal of Food Science, DOI: 10.1155/2020/8867250

Narayan, P., et al. (2017). Prevalence of foodborne pathogens in food from selected African countries - A meta-analysis. International Journal of Food Microbiology, DOI: 10.1016/j.ijfoodmicro.2017.03.002

Nguyen, A. T., & Tallent, S. M. (2019). Screening food for Bacillus cereus toxins using whole genome sequencing. Food Microbiology, 78, 164-170. DOI: 10.1016/j.fm.2018.10.008

Økstad, O. A., & Kolstø, A-B. (2011). Genomics of Bacillus species. In Wiedmann, M., & Zhang, W. (Eds.), Genomics of Foodborne Bacterial Pathogens. (pp. 29-53). New York: Springer.

Pirttijärvi, T. S. M., Andersson, M. A., & Salkinoja-Salonen, M. S. (2000). Properties of Bacillus cereus and other bacilli contaminating biomaterial-based industrial processes. International Journal of Food Microbiology, 60(2-3), 231-239.

Rosenkvist, H., & Hanson, A. (1995). Contamination profiles and characterization of Bacillus species in wheat bread and raw materials for bread production. International Journal of Food Microbiology, 26(3), 353-363.

Todd, E. C. D. (1996). Worldwide Surveillance of Foodborne Disease: the Need to Improve. Journal of Food Protection, 59(1), 82-92.

Uchimura, T. (1998). Microorganism and its role on fermented rice noodle (Khanom Jeen) of Thailand. JSPS-NRCT Symposium Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand.

Ultee, A., & Smid, E. J. (2001). Influence of carvacrol on growth and toxin production by Bacillus cereus. International Journal of Food Microbiology, 64(3), 373-378.

Valero, M., Fernandez, P. S., & Salmeron, M. C. (2003). Influence of pH and temperature on growth of Bacillus cereus in vegetable substrates. International Journal of Food Microbiology, 82(1), 71-79.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-19