Results of Mathematics Learning Management by using SQRQCQ Strategy together with Problem-based Learning on Similarity of Grade 3 Students

Authors

  • Supaporn Saduakdee Chandrakasem Rajabhat University
  • Teerapong Katthong Chandrakasem Rajabhat University
  • Thipphaporn Pracharung Chandrakasem Rajabhat University
  • Siriporn Saikeaw Chandrakasem Rajabhat University
  • Farida Phumidet Chandrakasem Rajabhat University

Keywords:

SQRQCQ Strategy, Problem-based Learning, Similarity

Abstract

The purposes of this research are to 1) compare the Mathematics learning achievement on Similarity of the 3rd grad students before and after receiving the learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based 2) compare the Mathematics learning achievement on Similarity of the 3rd grad students who received the learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based learning with the 70% criteria and 3) study the satisfaction of the 3rd grad students on learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based learning on Similarity. The research is an experimental research. The experimental research focuses on one-group and comparison between pretest-posttest is the result of research. The population are 5 classrooms of the 3rd grad students at Wichutit School in the first semester of the academic year 2021. The sample consisted of 37 students from grad 3/5. The sample selection is the cluster random sampling method. Achievement test and the satisfaction assessment form for learning management are tools for the research. Analysis for collected data is statistical analysis such as percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of the research are as follows 1) the Mathematics learning achievement on Similarity of the 3rd grad students receiving the learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based learning after learning is higher than before learning, at a significant level of .05, 2) the Mathematics learning achievement on Similarity of grad 3 students receiving the learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based learning was higher than the 70% criteria, at a significant level of .05 and 3) the overall satisfaction of the 3rd grad students towards learning management by using SQRQCQ strategy together with problem-based learning on Similarity is at the highest level.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

กัญจน์วิภา ใบกุหลาบ. (2562). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ธนิสา กองเพ็ชร. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ STAD [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นิรัญชลา ทับพุ่ม. (2564, กันยายน-ธันวาคม). การส่งเสริมทักษะการอภิปรายโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศิลปการจัดการ, 5(3), 703-717.

วันทนา ปาลวัฒน์ และชมนาด เชื้อสุวรรณทวี. (2560, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการ เรื่อง ความคล้าย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 17(1), 71-86.

สิรภพ สินธุประเสริฐ. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สติถิ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อภิชัย เหล่าพิเดช และอรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2556, กันยายน-ธันวาคม). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่อง ปัญหาทางสังคมของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 6(3), 757-774.

อัศวิน ดวงจิตร, ขณิชถา พรหมเหลือง และเวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว เรื่อง ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 22(2), 71-83.

Downloads

Published

27-07-2022

Issue

Section

Research Article