แถน: มโนทัศน์และ ความเข้าใจในสังคมอีสาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอมโนทัศน์เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องแถน และการรับรู้ของคนอีสานที่มีต่อแถน โดยเป็นการศึกษาเชิงเอกสารพบว่า แถน หมายถึง วิญญาณฟ้า มีฐานะเป็นพระเจ้าสูงสุด ผู้สร้างโลก และมนุษย์ ในปัจจุบัน คนอีสานยังคงให้ความเคารพต่อความเชื่อเรื่องแถน ในฐานะผีบรรพบุรุษที่เรียกว่า ผีฟ้า หรือผีแถน เป็นเทพเจ้าแห่งฝน และเป็นเทวดาตามคติพุทธและพราหมณ์ แต่ความเข้าใจ และความเข้มข้นในความเชื่อเรื่องแถนแตกต่างไปจากอดีตมาก การนำเสนอมโนทัศน์เรื่องแถนในสังคมอีสานมี 6 ด้าน ได้แก่ (1) ความเชื่อ (2) ประเพณี (3) สังคม (4) วิถีชีวิต (5) วรรณกรรม และ (6) บทกวี นอกจากนี้ มโนทัศน์เรื่องแถนยังถูกนำเสนอในฐานะเป็นมรดกทางภูมิปัญญา และทุนทางวัฒนธรรม มากกว่าการเผยแผ่ความเชื่อ และคำสอนแบบศาสนา
Downloads
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนจะต้องลงนามในแบบฟอร์มรับรองบทความ เพื่อให้คำยืนยันความรับผิดชอบว่า บทความของผู้เขียนนั้นไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน พร้อมรับทราบว่า กระบวนการส่งบทความเข้าพิจารณาและตีพิมพ์ในวารสารไทยคดีศึกษานั้น จะไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ยกเว้น ในกรณีที่ผู้เขียนขอยกเลิกการตีพิมพ์บทความในวารสารไทยคดีศึกษาไม่ว่าด้วยสาเหตุใด และหลังจากบทความนั้นเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิไปแล้ว ผู้เขียนจะต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกระบวนการประเมินเป็นจำนวนเงิน 3,000 บาท (สามพันบาทถ้วน)
References
Chaiyakandha, S. (2014). ผู้ไทลูกแถน ภาค 2 สืบค้นรากเหง้าผู้ไทนานาชาติจากนิทานพญาแถน [Phutai Thean Volume 2 Searching for the Root of International Phutai from Phaya Thaen’s Tales]. Bangkok: Tathata Publication Company Limited.
Chotikunta, P. (1988). นิยายปรัมปราเรื่องแถน: วิเคราะห์ความเชื่อตามพงศาวดารล้านช้าง [The Origin Myth of Thaen: An Analysis of a Belief in Lan - Chang Guardian Spirit]. (Master of Arts, Department of Sociology and Anthropology, Graduate School, Chulalongkorn University).
Daorueang, N. (2019). เจ้าพ่อศรีนครเตากับปฏิบัติช่วงชิงการให้ความหมายในพิธีกรรมและงานเฉลิมฉลองในช่วงหลังทศวรรษที่ 2540 - 2560 [God Srinakhontao and Scrambling the meaning to Rituals and Celebrations after 1997 - 2017]. ใน โครงการจัดประชุมวิชาการระดับ ชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 13 เรื่อง ภูมิภาคนิยม และท้องถิ่นนิยมสมัยใหม่ในโลกไร้พรมแดน [The 13th Humanities Research Forum in Thailand: New Regionalism and Localism in the Borderless World] (188 - 206). Mahasarakham: Faculty of Humanities and Social Sciences, Mahasarakham University.
Dhammawatra, C. (n.d.). พงศาวดารแห่งประเทศลาว [Chronicle of Lao]. (The Research Institute of Northeastern Arts and Culture, Srinakharinwirot University, Mahasarakham).
Dhammawatra, C. (2012). ตำนานในกลุ่มชาติพันธุ์ไท - ลาว: ความสัมพันธ์ระหว่างตำนานกับปริบททางสังคม [Myths in the Tai - Lao Ethnic Group: The Relationship Between Myth and Social Context]. Journal of Art and Culture Studies, Research Institute of Northeastern Art and Culture, Mahasarakham University, 1(1), 36 - 55.
Jarernpait, T. (2016). ผีและอำนาจ ผ่านความเชื่อเรื่องผีของชาวไทยทรงดำ ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก [Ghosts and Power: Through Ghosts Believing of Thai Song Dum, Tambon Pun Sao, Bang Ra Gum, Phitsanulok]. Ratchaphruek Journal, 14(2), 67 - 74.
Kaewpiluek, P. (2009). การจัดการงานประเพณีบุญบั้งไฟขององค์การบริหารส่วนตำบลนาคำ อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร [Manarement of BamBoo Rocket Festival in Na Kham Sub District Administrative Organization, Kham Khuean Kaeo Distict, Yasothon Province]. (Master of Public Administration in Local Government, College of Local Administration, Khon Kaen University).
Kurusapa Business Organization. (1963). ประชุมพงศาวดาร เล่ม 2 [Annals Vol 2]. Bangkok: Suksapanpanit.
Leesuwan, V. (2010). นามานุกรมเครื่องจักรสาน [Dictionary of wicker]. Bangkok: muang boran press.
Michanthi, S. (1997). การควบคุมทางสังคม : ศึกษาวิเคราะห์เฉพาะกรณีวัฒนธรรมจากวรรณกรรมพื้นบ้านอีสาน [Social Control : Study and Analysis Cultural Cases from Isan Folk Literature]. (Research grant from The Office of National Culture Department, Ministry of Education).
Nisasoka, R. (2014). การเปลี่ยนแปลงประเพณีบุญบั้งไฟสู่กระบวนการกลายสินค้า กรณีศึกษา ประเพณีบุญบั้งไฟหมู่บ้านไผ่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี [A Transformation of the Bun Bangfai Rocket Festival into the Process of becoming a Product : A Case Study Ban Phai Village, Klang Yai Sub - district, Khueang Nai District, Ubon Ratchathani Province]. (Degree of Bachelor of Arts (Department of Anthropology) Faculty of Archaeology, Silpakorn University).
Phomwongsa, U. (1958). ประวัติศาสตร์ลาว [History of Lao] (Desuankok, C. Translator). (Department of History and Archaeology, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University).
Phutha, P. (2013). ความเป็นมาคนอีสาน [Isan history] (6th ed.). Bangkok: Sukkhapabjai.
Potila, K. (2012). การศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลความเชื่อเรื่องผีปอบที่มีความสัมพันธ์กับพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษา บ้านดอนยานาง จังหวัดกาฬสินธุ์ [The Analytical study of the Influence of the Belief in Phee Pob Associated with Buddhist Rituals: A Case Study of Don ya nang Village, Kalasin Province]. (Master of Arts, Buddhist Studies, Graduate School, Mahachula longkornrajavidayala University).
Potiwan, P. (2016). กระบวนการสร้างพื้นที่ทางสังคมของผีอีสาน [Social Space Construction of Spirit’s Isan]. Journal of Cultural Approach, 17(32), 100 - 110.
Prapasiri. (1935). วิเคราะห์เรื่องเมืองไทเดิม [Analyze the Ancient Tai City] (Printed as a memorial for the cremation of Mr. Li Sathiyankoses). Phra Nakhon: Thaprachan Printing Press, Thaprachan.
Punnothok, T. (2003). วรรณกรรมภาคอีสาน [North - Eastern Thai Literature] (3rd ed.). (The Department of Thai and Oriental Languages, Faculty of Humanities, Ramkhamhaeng University).
Rittidet, P. (2001). แถน: ฟ้าไขประตูน้ำ [Thaen: Sky unlocks dam]. Journal of Language and Culture, 20(1), 92 - 97.
Saenpuran, P. (2011). ความเชื่อเรื่องพระยาแถนของกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมกลุ่มวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคอีสาน [The Belief to Thaen of genealogies in the native society and culture of Isarn]. (Research grant from Culture Center and Office of Alumni Affairs, Khon Kaen University).
Saenpuran, P. (2012). ความเชื่อเรื่องพระยาแถนของกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมกลุ่มวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคอีสาน [The belief to Thaen of Thai - Lao genealogies in the native society and culture of Isarn]. Humanities & Social Sciences Journal, 29(4), 21 - 40.
Sattayawatthana, C. (2018). ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท - ลาว และความเป็นไท / ไต / ไทย / สยาม [Dam, Thaen,Tai State, Root of Sao Rok Rak, Tai People, Tai - Lao Community, and Tai/Tai/Thai/Siam]. Bangkok: Chonniyom.
Sriruksa, K. (2010). เถียงนา: รูปแบบและการใช้งานในวัฒนธรรมข้าวของชาวนาอีสาน [Isaan Hut: Form and Functions in rice culture of Isan farmer]. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 2(2), 45 - 62.
Stuart - Fox, M. (2010). ประวัติศาสตร์ลาว [A History of Laos] (Vinyaratn, C. (Translator). Bangkok: Printed by Toyota Foundation Thailand.
Thepsimuang, M.B. (2011). ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 2 อาณาจักรล้านช้างตอนต้น [History of the Lao Civilization and the Beginning of Lan Chang Kingdom Volume 2] (Phutha, P. Translator). Bangkok: Sukkhapabjai.
Wichat, S. (2009). การศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ความเชื่อเรื่องพระเจ้าในศาสนายูดายกับความเชื่อเรื่องพระยาแถนในกลุ่มชาติพันธุ์ไท - ลาว [A Comparative Study and Analysis of Belief in God of Judi Religion and in Phayatan of Ethnic Group Thai - Lao]. (Master of Art Thesis in Philosophy, Graduate School, Khon Kaen University).
Wirawong, M.S. (1997). ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ: ประวัติศาสตร์ลาว [Arts and Cultures, Special Edition: Lao History] (Premchit, S. Translator). Bangkok: Matichon Public Company Limited.
Wongthes, S. (2019, February 15). ขวัญ จับต้องไม่ได้มองไม่เห็น ความเชื่อมากกว่า 3,000 ปี มาแล้ว [Khwan intangible, invisible, belief more than 3,000 years ago]. Retrieved February 22, 2021, from https://www.matichon.co.th/prachachuen/daily-column/news _1364834.
Worahan, S. (2018). บทสวดในพิธีศพของชาติพันธุ์ไทดำใน ส.ป.ป. ลาว: ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม และการสื่อความหมาย [The Chanting Text in the Funeral of the Ethnic Tai dum in Lao People’s Democratic Republic: Beliefs, Traditions, Rituals, and Meanings]. Rommayasan Academic Journal, 16(1), 513 - 527.