ORGANIZATIONAL LOYALTY OF THE TEACHERS AFFECTING SCHOOL EFFECTIVENESS IN NAKHON PATHOM PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 2

Main Article Content

Pimsiri Prawingwong
Oraphan Toujinda
Duangiai Chanasid

Abstract

This research aims to: 1) study the level of organizational loyalty of the teachers; 2) study the level of the school effectiveness; and 3) analyze the organizational loyalty of the teacher affecting the school effectiveness. The sample was 310 administrators and teachers under Nakhon Pathom Primary Education Service Area Office 2, derived by proportional stratified random sampling distributed by school size. Data were analyzed with percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis.


The findings of the research were as follows:


  1. Overall and specific aspects of quality organizational loyalty of the teachers were at a high level. When considering each aspect, the aspects were affective aspect, behavioral aspect and cognitive aspect, respectively.

  2. Overall and specific aspects of the school effectiveness were at a high level. The aspects were problem-solving ability, ability to change and develop schools, ability to develop positive attitudes, ability to produce high-achieving students, respectively.

  3. The organizational loyalty of the teachers in the aspects for cognitive aspect (X3), behavioral aspect (X1) and affective aspect (X2), together predicted the school effectiveness (Ytot) at the percentage of 72.10 with statistical significance level of .05. The regression analysis equation was  tot = 0.80 + 0.33 (X3) + 0.23 (X1) + 0.24 (X2)

Article Details

Section
Research Articles

References

กรองกาญจน์ ทองสุข. (2554). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของบุคลากในวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

จตุรภัทร ประทุม. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

จันทนา เสียงเจริญ. (2554). ความผูกพันธ์ต่อองค์การของพนักงาน บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน). สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกการจัดการทั่วไปมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี.

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2557). วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

นันทนา ชวนชอบ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลให้บุคลากรมีความจงรักภักดีกับองค์การอย่างยั่งยืนกรณีศึกษา กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สารนิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พัฒนา แสงตะวัน. (2553). ปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ยุกตนันท์ หวานฉ่ำ. (2555). การบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนในอำเภอคลองหลวงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

รัชนี ตรีสุทธิวงษา. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการทำงาน ความจงรักภักดีต่อองค์กรและประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รุ่งทิวา ศรีบรรเทา. (2562). ความสุขในการทำงานที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อองค์กรของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

รุจิรา เรืองวิไลกฤตย์. (2556). การศึกษาลักษณะส่วนบุคคล วัฒนธรรมองค์กรและแรงจูงใจ ที่มีผลต่อความจงรักภักดีในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน). สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วีราภรณ์ บุตรทองดี. (2557). ทัศนคติต่อการทำงาน องค์กร และความจงรักภักดีของพนักงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วม/ประสิทธิผลของสถานศึกษา/สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

สรียา อยู่เย็น. (2556). ประสิทธิผลของโรงเรียนในอำเภอท่าตะเกียบ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. งานนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. (2564). ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 จาก https://npt2.go.th/wp/?page_id=1700.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. สืบค้น เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2564จาก https://sites.google.com/view/plannpt2.

สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.