Improving Reading Comprehension Skill by Using SQ4R Technique for Matthayomsuksa 2 Students
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to compare English reading comprehension before and after learning using SQ4R technique for Matthayomsuksa 2 students. The experimental group consisted of 44 students in Mattayomsuksa 2/2 in the second semester of the 2022 academic year at Naluang School, Thung Kru District, Bangkok. The samples were selected as the purposive sampling for the present study. The experiment was carried out for 6 hours. The research design was the one group pretest-posttest design. The instruments used in this research were: 1) 6 lesson plans using SQ4R reading technique and 2) English reading comprehension test (pre-test and post-test). The data were statistically analyzed by using statistical mean, percent, standard deviation and t-test dependent. The results of this research revealed that students in English mean scores were significantly higher than those of the pretest before using the English reading exercises at the significant level of .05.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร
ข้อความที่ปรากฎอยู่ในบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และข้อคิดเห็นนั้นไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กานต์ธิดา แก้วกาม. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย. ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จิตติพร จันทรังษี. (2557). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ แบบ SQ4R เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ฐิติวรดา พิมพานนท์. (2560). การพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
นวภรณ์ อุ่นเรือน. (2560). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ประทุมวรรณ จันทร์ศรี. (2558). การเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจความคงทนในการเรียนรู้และแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้สื่อแบบอรรถฐาน ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (MIA) และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พรพรรณ พูลเขาล้าน. (2563). การพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับเทคนิค SQ4R. การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มันทนา อุตทอง. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R เพื่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ. หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยบูรพา.
รัตนภัณฑ์ เลิศคำฟู. (2547). การใช้วิธีการสอนแบบเอสคิวโฟร์อาร์ ในการสอนอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการประถมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศรีวรรณ โตพิจิตร์. (2557). การพัฒนาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยวิธีสอนอ่านแบบ SQ4R. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2549). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.